Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11036
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์ | - |
dc.contributor.advisor | ภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ | - |
dc.contributor.author | เอกสิทธิ์ แย้มศรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-09T09:41:02Z | - |
dc.date.available | 2009-09-09T09:41:02Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741736398 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11036 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการแปรรูปร่วมของถ่านหินบ้านปูและจาระบีใช้แล้วให้เป็นของเหลวภายใต้บรรยากาศของแก๊สไฮโดรเจน ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะที่อุณหภูมิ 370-450 องศาเซลเซียส ความดัน 5-9 เมกะพาสคัล อัตราส่วนระหว่างถ่านหินกับจาระบีใช้แล้ว 1 ต่อ 9 ถึง 6 ต่อ 4 และเวลา 30 นาที โดยใช้การทดลองแบบแฟกทอเรียลสองระดับที่มีผลต่อร้อยละผลได้ของเหลว ตัวแปรที่ได้ศึกษาคือ อุณหภูมิ ความดัน และอัตราส่วนระหว่างถ่านหินกับจาระบีใช้แล้ว พบว่าอัตราส่วนระหว่างถ่านหินกับจาระบีใช้แล้วและอุณหภูมิเป็นตัวแปรกระบวนการที่มีผลต่อร้อยละผลได้ของเหลวอย่างมีนัยสำคัญ จากการศึกษาผลอุณหภูมิยังพบอีกว่าทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ของเหลวตามจุดเดือด โดยภาวะที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิ 370 องศาเซลเซียส ความดัน 5 เมกะพาสคัล อัตราส่วนระหว่างถ่านหินกับจาระบีใช้แล้ว 6 ต่อ 4 ได้ร้อยละการเปลี่ยนของถ่านหินและจาระบีใช้แล้วและร้อยละผลได้ของเหลวเท่ากับ 63 และ 27 ตามลำดับ จากการศึกษาผลของการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาได้แก่ โมลิบดีนัมเฮกสะคาร์บอนิล ไอร์ออน(III)ซัลไฟด์ และซิงค์คลอไรด์ พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาไม่มีผลทำให้ร้อยละผลได้ของเหลวเพิ่มขึ้น ในขณะที่การแปรรูปร่วมด้วยโทลูอีน-เตตราลิน (70:30 ปริมาตรโดยปริมาตร) ภาวะเหนือวิกฤตที่อุณหภูมิ 370 องศาเซลเซียสให้ร้อยละผลได้ของเหลวมากที่สุดเท่ากับ 55 และร้อยละการเปลี่ยนถ่านหินและจาระบีใช้แล้วเท่ากับ 64 | en |
dc.description.abstractalternative | Co-liquefaction of Banpoo coal and used grease has been studied in a batch reactor at a temperature range of 370-450 ํC, 5-9 MPa of initial hydrogen pressure, 1:9-6:4 of coal:grease ratio and reaction time of 30 min. The two level factorial experimental design was performed to investigate the effects of process variables of liquid yield. The process variables are temperature, pressure and coal:grease ratio. It was found that liquid yield was significantly affected by coal:grease ratio and temperature. From a study of temperature effect, the change of liquid distribution was also found. At the optimum condition of 370oC, 5 MPa and coal:grease ratio 6:4, conversion and liquid yield reached 63 and 27%, respectively. By adding Mo(CO)[subscript 6], Fe[subscript 2]S[subscript 3] and ZnCl[subscript 2] catalysts, no effect of catalysts on the change of liquid yield was found. The maximum liquid yield reached 55% at 370 ํC of temperature and conversion was obtained 64% for co-liquefaction in supercritical toluene-tetralin (70:30 v/v). | en |
dc.format.extent | 3700292 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ถ่านหิน -- การทำให้เป็นของเหลว | en |
dc.subject | จาระบี -- การทำให้เป็นของเหลว | en |
dc.subject | การนำกลับมาใช้ใหม่ | en |
dc.title | การแปรรูปร่วมของถ่านหินและจาระบีใช้แล้วให้เป็นของเหลว | en |
dc.title.alternative | Co-liquefaction of coal and used grease | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | somkiat@sc.chula.ac.th, Somkiat.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Pattarapan.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ekkasit.pdf | 3.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.