Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชนะ นิ่มนวล-
dc.contributor.authorศิรามาศ รอดจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-10T03:59:24Z-
dc.date.available2009-09-10T03:59:24Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741735472-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11069-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาความพึงพอใจในชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยโรคเรื้อน สถาบันราชประชาสมาสัย ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างตามเพศจำนวน 300 คน จาก 947 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ที่ปรับมาจากของบราเคลและคณะ และแบบสอบถามความพึงพอใจในชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อน ที่ปรับมาจากของนิวการ์เท็นและคณะ (แบบประเมินตนเอง) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ สถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว Unpair t test สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิตในระดับสูง 53.0% และพบว่าปัจจัยทำนายความพึงพอใจในชีวิตคือ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน อาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ความสามารถในการอ่านหนังสือ และรายได้ (R2 = .279) โดยผู้ป่วยที่มีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันในระดับสูง มีอาชีพหรือมีงานทำ ไม่มีปัญหาความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม สามารถอ่านหนังสือได้ และมีรายได้ที่พอดีหรือมากกว่ารายจ่าย จะมีความพึงพอใจในชีวิตมากกว่า ผู้ป่วยที่มีลักษณะตรงกันข้ามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeTo determine level of life satisfaction and to examine factors influencing life satisfaction in patients with leprosy at Rajprachasamasai Institute. Using a stratified random sampling technique by gender, 300 patients with leprosy were recruited from a total population of 947. The research instruments were the demographic data questionnaire, activities of daily living and life satisfaction questionnaire for leprosy, adapted from brakel and neugarten was used (self-report). The data were analyzed using descriptive statistics, One way ANOVA, unpair t test, pearson's product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The results showed that the majority of patients were satisfied with life at high level (53.0%). Analysis of associated factors indicated that activities of daily living, occupation, relationship with people in social, readable and income was statistically significant toward life satisfaction (R2 = .279) as patients with high level of activities of daily living, having occupation, having good relationship with people in social, ability to read and sufficience of income satisfied with life more than the opposite at p<.05 level.en
dc.format.extent713583 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคนพิการ -- สุขภาพจิตen
dc.subjectโรคเรื้อน -- ผู้ป่วยen
dc.subjectความพอใจในชีวิตen
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectโรคเรื้อนen
dc.titleความพึงพอใจในชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อนสถาบันราชประชาสมาสัยen
dc.title.alternativesatisfaction of leprosy patients at Rajprachasamasai Instituteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaichana.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siramas.pdf696.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.