Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.advisorมนัส บุญประกอบ-
dc.contributor.authorจุรีรัตน์ สืบตระกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-10T06:55:34Z-
dc.date.available2009-09-10T06:55:34Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741749546-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11077-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาผลของผังมโนทัศน์ในบทเรียนไฮเปอร์มีเดีย ที่ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวงจรการเรียนรู้แบบโฟร์แมท ที่มีต่อผลสัมฤทธิผลทางการเรียนวิชากลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตเรื่อง "ไฟฟ้า" ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีแบบการเรียนแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองจำนวน 120 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสำรวจการเรียนซึ่งผู้วิจัยได้ดัดแปลงจาก แบบสำรวจการเรียนของ David A. Kolb แบบวัดสัมฤทธิผลทางการเรียน และบทเรียนไฮเปอร์มีเดียที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่มีแบบการเรียน แบบปรับปรุง แบบดูดซึม แบบเอกนัย และแบบอเนกนัย เมื่อได้เรียนด้วยบทเรียนไฮเปอร์มีเดีย ซึ่งออกแบบกิจกรรมตามวงจรการเรียนรู้โฟร์แมท มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่มีแบบการเรียน แบบปรับปรุง แบบดูดซึม แบบเอกนัย และแบบอเนกนัย เมื่อได้เรียนด้วยบทเรียนไฮเปอร์มีเดียซึ่งออกแบบกิจกรรม ตามวงจรการเรียนรู้โฟร์แมทที่มีผังมโนทัศน์แบบแสดงเนื้อหาทั้งหน่วยการเรียน และแบบแสดงเฉพาะส่วนที่สัมพันธ์กับหัวข้อที่กำลังเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study effects of concept mapping in hypermedia lesson based on the 4 MAT system on learning achievement in Life Experience Area on electricity of pratom suksa six students with different learning styles. The samples consisted of 120 selected by multistage sampling. The research instruments were David A. Kolb's learning style inventory modified by the researcher, an achievement test and hypermedia lessons constructed by the researcher. The data were analyzed by SPSS. The results of this study showed that 1. the accommodative, assimilation, convergent and divergent learning style students learned from hypermedia lessons based on the 4 MAT system didn't have significantly increase on learning achievement at .05 level. 2. the accommodative, assimilation, convergent and divergent learning style students learned from hypermedia lessons based on the 4 MAT system with global concept mapping and local concept mapping didn't have significantly difference on learning achievement at .05 level.en
dc.format.extent2535558 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1332-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสอนแบบ 4 แมทen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.subjectระบบไฮเปอร์เท็กซ์en
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen
dc.subjectกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleผลของผังมโนทัศน์ในบทเรียนไฮเปอร์มีเดียตามวงจรการเรียนรู้แบบโฟร์แมท ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง "ไฟฟ้า" ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีแบบการเรียนต่างกันen
dc.title.alternativeEffects of concept mapping in hypermedia lessons based on the 4 mat system on learning achievement in Life Experience Area on "electricity" of pratom suksa six students with different learning stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSugree.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisormanatboo@swu.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1332-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jureerat.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.