Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตต์นิภา ศรีไสย์-
dc.contributor.advisorสุวัฒนา อุทัยรัตน์-
dc.contributor.authorขัณธ์ชัย อธิเกียรติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-15T07:41:58Z-
dc.date.available2009-09-15T07:41:58Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741709005-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11157-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในการจำบทร้อยกรองภาษาไทยกลุ่มที่ฝึกท่องจากการฟังและฝึกท่องจากการอ่าน และเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในการจำบทร้อยกรองภาษาไทยระหว่างกลุ่มที่ฝึกท่องจากการฟังและฝึกท่องจากการอ่าน ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ปีการศึกษา 2544 จำนวน 2 ห้อง ห้องละ 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ แผนการสอนการฝึกท่องบทร้อยกรอง จำนวน 6 คาบ สำหรับกลุ่มที่ฝึกท่องจากการฟังและสำหรับกลุ่มที่ฝึกท่องจากการอ่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบทดสอบวัดความสามารถในการจำบทร้อยกรอง เป็นข้อสอบแบบอัตนัย วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคำนวณค่าเฉลี่ยร้อยละ (X ร้อยละ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ ค่า t-test ด้วยโปรแกรม SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถของนักเรียนในการจำบทร้อยกรองภาษาไทย กลุ่มที่ฝึกท่องจากการฟังกลอนสุภาพและโครงสี่สุภาพ อยู่ในระดับปานกลาง 2. ความสามารถของนักเรียนในการจำบทร้อยกรองภาษาไทย กลุ่มที่ฝึกท่องจากการอ่านกลอนสุภาพและโคลงสี่สุภาพ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด 3. ความสามารถในการจำบทร้อยกรองภาษาไทยของนักเรียนที่ฝึกท่องจากการฟัง สูงกว่านักเรียนที่ฝึกท่องจากการอ่านen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to investigate abilities of mathayom suksa two students at Chulalongkorn University Demonstration School to recall Thai poetry from listening and reading in 2001 academic year. The data were gathered from two classes and each class contained 34 students by using six poetry recitation lesson plans for the group of students which recited from listening and for the group of students which recited from reading. The poetry reitation testings were administered to each group of subjets to check their abilities to recall Thai poetry. The data were analyzed by the SPSS/PC program to find X, S.D. and t-test value. The results revealed that: 1. The ability to memorize Thai poetry of mathayom suksa two students who practise reciting from listening to Thai poetry were modrate. 2. The ability to memorize Thai poetry of mathayom suksa two students who practise reciting from reading to Thai poetry were passed the lower criteria. 3. The ability to memorize Thai poetry of mathayom suksa two students who practise reciting from listening is higher than of those who practise reciting from reading.en
dc.format.extent4479590 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.786-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectการจำ (จิตวิทยา)en
dc.subjectกวีนิพนธ์en
dc.subjectการฟังen
dc.subjectการอ่านen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในการจำบทร้อยกรองภาษาไทยระหว่างกลุ่มที่ฝึกท่องจากการฟังและฝึกท่องจากการอ่านen
dc.title.alternativeA comparison of mathayom suksa two students' abilities to recall Thai poetry between groups reciting from listening and from readingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChittnipa.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.786-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Khanchai_Athi.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.