Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ สุวรรณวลัยกร-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย ปาละวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-17T03:26:04Z-
dc.date.available2009-09-17T03:26:04Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383078-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11162-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวนครั้งในการใช้เข็มฉีดยาอินสุลินซ้ำ กับการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและการติดเชื้อ รวมทั้งประเมินจำนวนครั้งที่เหมาะสมในการใช้เข็มฉีดยาอินสุลิน โดยศึกษาจากเข็มฉีดยาอินสุลินที่ผู้ป่วยใช้ซ้ำตามปกติ นำมาใช้ประเมินผลทางห้องปฏิบัติการและดูผลทางคลินิก ที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ใช้เข็มฉีดยาอินสุลินนั้น รวมทั้งแบบสอบถามที่ทำขึ้นถามผู้ป่วย ได้ผู้ป่วยทั้งสิ้นจำนวน 100 คน เข็มฉีดยา 100 อัน ผู้ป่วยเป็นเบาหวานมานานเฉลี่ย 63.9 เดือน (2-240 เดือน) จำนวนครั้งในการใช้เข็มฉีดยาอินสุลินเฉลี่ย 3.95 +_ 2.74 (1-20 ครั้ง) การติดเชื้อที่เกิดขึ้นตามจำนวนครั้งที่ใช้เข็มฉีดยาซ้ำ (1, 2, 3, 4, 5, 6, >6) คิดเป็น % เท่ากับ (0, 0, 5.8, 0, 22.2, 14.3, 33.3) r value = 0.76 การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นตามจำนวนครั้งที่ใช้เข็มฉีดยาซ้ำ คิดเป็น % เท่ากับ (0, 0, 5.8, 29.4, 11.1, 28.6, 0) r value = 0.79 อุบัติการณ์รวมทั้งการติดเชื้อและการบาดเจ็บของเนื้อคิดเป็น % เท่ากับ (0, 0, 11.7, 29.4, 33.3, 42.9, 33.3) r value = 0.97 p value ของ x2 -test ของความแตกต่างในการเกิดการบาดเจ็บเนื้อเยื่อ และการติดเชื้อในแต่ละกลุ่ม [(1, >1), (<=2, >2), (<=3, >3), (<=4, >4), (<=5, >5), (<=6, >6)] เท่ากับ (0.061, 0.005, 0.001, 0.0012, 0.005, 0.25) ตามลำดับ จำนวนครั้งที่ใช้เข็มฉีดยาอินสุลินซ้ำ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ และการติดเชื้อที่เกิดขึ้น การใช้เข็มฉีดยาอินสุลินครั้งเดียวทิ้ง ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับการใช้เข็มฉีดยาอินสุลินซ้ำ แต่อย่างไรก็ตามจำนวนครั้งที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ซ้ำ ก็จะมีความแตกต่างที่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในการเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและการติดเชื้อ จนกระทั่งใช้ซ้ำ 6 ครั้ง จึงไม่นัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นการใช้เข็มฉีดยาอินสุลินสามารถใช้ซ้ำได้ แต่ไม่ควรเกิน 5 ครั้งen
dc.description.abstractalternativeTo determine the relation between numbers of times of reused insulin syringe and prevalence of tissue trauma or infection and to determine the appropriate number of tines of reused insulin syringe by evaluation of insulin syringe for prevalence of laboratory tissue trauma and infection, patient examination for prevalence of clinical tissue trauma and infection. A total of 100 patients and syringes were enrolled in this study. The mean duration of diabetes was 63.9 months (range 2-240). The average number of times of reused syringe was 3.95 +_ 2.74 (range 1-20). The prevalence of infection according to the number of times of reuse. (1, 2, 3, 4, 5, 6, <6) were (0, 0, 5.8%, 0, 22.2%, 14.3%, 33.3%) r = 0.76. The prevalence of tissue trauma according to the number of times of reuse were (0, 0, 5.8%, 29.4%, 11.1%, 28.6%, 0) r = 0.79. The total prevalence was (0, 0, 11.7%, 29.4%, 33.3%, 42.9%, 33.3%) r = 0.97, p value of x2-test between difference group of number of times of reuse [(1, >1), (<=2, >2), (<=3, >3), (<=4, >4), (<=5, >5), (<=6, >6)] were (0.061, 0.0005, 0.0001, 0.00012, 0.005, 0.25) respectively. The number of times of reused insulin syringe was strongly correlated with prevalence of tissue trauma and infection. No statistical significance between the syringe that was discarded after only one time and reused syringe. However the number of times of reused syringe increased, the significant difference in prevalence of tissue trauma or infection occurred through 6 times of reuse, the statistical significance did not occurred. So when reused insulin syringe was needed, the number of times of reuse should not be more than 5 times.en
dc.format.extent770811 bytes-
dc.format.extent935186 bytes-
dc.format.extent772387 bytes-
dc.format.extent716514 bytes-
dc.format.extent905992 bytes-
dc.format.extent807124 bytes-
dc.format.extent724106 bytes-
dc.format.extent714725 bytes-
dc.format.extent762832 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการฉีดen
dc.subjectอินสุลินen
dc.subjectเบาหวานen
dc.titleผลของการใช้เข็มฉีดยาอินสุลินซ้ำหลายๆ ครั้ง ต่อการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อและการติดเชื้อในผู้ป่วยเบาหวาน ที่ใช้อินสุลินในการรักษาที่คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeThe effects of reuses of disposable insulin syringe to tissue trauma and infection in insulin treated diabetic patients at outpatient diabetic clinic of Chulalongkorn Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSompongse.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakchai_Pa_front.pdf752.75 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch1.pdf913.27 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch2.pdf754.28 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch3.pdf699.72 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch4.pdf884.76 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch5.pdf788.21 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch6.pdf707.13 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_ch7.pdf697.97 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_Pa_back.pdf744.95 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.