Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัยวุฒิ วงษ์โคเมท-
dc.contributor.authorณพงศ์ ปณิธานธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-21T09:37:34Z-
dc.date.available2009-09-21T09:37:34Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740311873-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11199-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractนำเสนอการออกแบบวงจรขยายที่มีอัตราส่วนการขจัดแบบวิธีร่วมสูง สัญญาณรบกวนต่ำและออฟเซตต่ำ ซึ่งโดยทั่วไปเรียกว่า "วงจรขยายอินสตรูเมนท์" วงจรนี้ใช้เทคนิคการชอปเปอร์ร่วมกับวงจรกรองผ่านแถบ โดยใช้วงจรกรองผ่านแถบแบบสวิตช์ตัวเก็บประจุในการออกแบบเพื่อเพิ่มความเข้าคู่ระหว่างความถี่การชอบเปอร์และความถี่ศูนย์กลางของวงจรกรองผ่านแถบ นอกจากนี้การใช้วงจรกรองผ่านแถบร่วมกับวิธีการชักตัวอย่างค่ายอด ช่วยลดความจำเป็นในการใช้วงจรกรองป้องกันการเคลือบแฝงสำหรับขจัดสัญญาณรบกวนและฮาร์มอนิกคู่ของความถี่การชอปเปอร์ และช่วยให้สามารถลดความถี่การชักตัวอย่างของวงจรแปลงผันสัญญาณแอนะลอกเป็นดิจิตอลลงถึง 16 เท่า โดยมีการเคลือบแฝงของสัญญาณรบกวนความถี่สูงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย วงจรขยายอินสตรูเมนท์ต้นแบบถูกส่งไปเจือสารด้วยเทคโนโลยี 0.7 micro m. CMOS ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าวงจรต้นแบบมีอัตราขยายที่เลือกปรับค่าได้ระหว่าง 1x, 2x, 5x หรือ 10x107.1 เท่า มีแบนด์วิดท์ประมาณ 5.5 kHz มีออฟเซตและสัญญาณรบกวนขาเข้าอ้างอิงเท่ากับ 88.7 micro V และ 17.2 nV/sqrt.Hz ตามลำดับ มีอัตราส่วนการขจัดแบบวิธีร่วมมากกว่า 137 dB และใช้กำลังงาน 11 mW ที่แหล่งจ่ายแรงดัน 5 V โดยมีความไม่เข้าคู่ระหว่างความถี่การชอปเปอร์และความถี่ศูนย์กลางของวงจรกรองผ่านแถบ 0.84%en
dc.description.abstractalternativeTo present a design of a high CMRR, low noise and low offset instrumentation amplifier. The amplifier utilizes chopper technique in combination with a switched-capacitor bandpass filter. The switched-capacitor technique is employed to improve the matching between the chopping frequency and bandpass center frequency. Furthermore, the combination of the bandpass filter and peak-signal sampling approach eliminates the need for an anti-aliasing filter to remove noise and even harmonic of chopping frequency of the subsequent ADC and allows the sampling rate of the ADC to be reduced by a factor of 16 with minimal increase in high-frequency aliased noise. The prototyped amplifier is implemented in 0.7 micro m. CMOS process. Measurement results show that the amplifier has pin-selectable gain of 1x, 2x, 5x, 10x107.1 and bandwidth approximately of 5.5 kHz. Input offset and input-referred noise are 88.7 micro V and 17.2 nV/sqrt.Hz, respectively. The inband CMRR is better than 137 dB. The amplifier dissipates 11 mW from a 5-V supply. The mismatch between the chopping frequency and the bandpass center frequency is 0.84%.en
dc.format.extent3253656 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องขยาย (อิเล็กทรอนิกส์)en
dc.subjectการวัดไฟฟ้าen
dc.titleการออกแบบวงจรขยายที่มีอัตราส่วนลดขจัดแบบวิธีร่วมสูง สัญญาณรบกวนและออฟเซตต่ำด้วยเทคนิคชอปเปอร์และวงจรสวิตซ์ตัวเก็บประจุen
dc.title.alternativeA design of a high CMRR, low noise, and low offset amplifier using chopper technique and switched-capacitor circuitsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisornaiyavud@iet.co.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napong.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.