Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัฐชาติ มงคลนาวิน-
dc.contributor.authorฐิติศักดิ์ กูลเกล้าปราการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-22T03:39:58Z-
dc.date.available2009-09-22T03:39:58Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741757174-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11208-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้ตรวจสอบการแผ่รังสีเอกซ์จากเครื่องพลาสมาโฟกัสขนาดเล็ก พลังงาน 2.3 kJ ตามการเปลี่ยนชนิดของ ก๊าซ และพารามิเตอร์ของระบบการเกิดพลาสมาโฟกัส ภายใต้ความดันก๊าซ 0.5-2.5 mbar วิธีการการวัดรังสีเอกซ์แบบ แยกเวลาได้ถูกนำมาใช้วัดอุณหภูมิของอิเล็กตรอนในพลาสมา และวิธีการถ่ายภาพโดยรังสีเอกซ์แบบรวมเวลาได้นำ มาใช้เพื่อถ่ายภาพจุดโฟกัส เมื่อเทียบอุณหภูมิของอิเล็กตรอนในพลาสมาของก๊าซทั้ง 3 ชนิด พบว่า อาร์กอนพลาสมา ทำให้เกิดรังสีเอกซ์แบบต่อนื่องในช่วงของรังสีเอกซ์แบบอ่อนและแบบเข้ม ส่วนก๊าซออกซิเจนและก๊าซไนโตรเจน ทำให้เกิดรังสีเอกซ์แบบอ่อนที่มีความเข้มน้อยกว่า โดยจะเกิด CuK[subscrip a] มากกว่า และจากภายถ่ายจุดโฟกัส ก๊าซอาร์กอนให้จุดโพกัสที่มีลักษณะเป็นจุดอย่างชัดเจน เรียงตัวในแนวตั้งเหนือปลายแอโนด โดยมีความยาวช่วงจุด โดยเฉลี่ย 5.5-13 mm จุดโพกัสของออกซิเจนพลาสมามีลักษณะเป็นลำยาว จุดโพกัสของก๊าซไนโตรเจนมีลักษณะ เช่นเดียวกับก๊าซออกซิเจน โดยจะมีจุดที่เข้มที่สุดอยู่ด้านล่างลำของจุดโฟกัส ความเข้มของจุดโฟกัสของก๊าซอาร์กอน มีความเข้มมากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeIn this research, the X-ray emission from a small 2.3 kJ plasma focus is investigated by varying type of gas and operating parameters of the plasma focus operating at the pressure between 0.5 to 2.5 mbar. Time–Resolved X-ray measurements are used to measure the electron temperature and Time–Integrated X-ray imaging is used to show the focusing point. The electron temperature of argon plasma significantly relates to the X-ray signals obtained. It is found that X-ray from argon is a combination of soft and hard X-rays. For oxygen and nitrogen, the X-ray from CuKD is found to be dominant. The intensity of X-ray from argon is higher than oxygen and nitrogen. Multiple Focusing points are shown to be vertically aligned on top of the anode with an average length between 5.5 _13.5 mm . Oxygen and Nitrogen gas produce long columnar structure. It is found that argon plasma produces most intense focusing spots.en
dc.format.extent3258836 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรังสีเอ็กซ์en
dc.subjectพลาสมา (ก๊าซ)en
dc.subjectอาร์กอนen
dc.titleการตรวจสอบการแผ่รังสีเอกซ์จากเครื่องพลาสมาโฟกัสขนาดเล็กen
dc.title.alternativeInvestigation of x-ray emission from a small plasma focus deviceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineฟิสิกส์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorrattachat@Mets.co.th, Mngklnun@phys.sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
titisak.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.