Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorคุ้มสิน ตั้งรุ่งโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-22T06:37:39Z-
dc.date.available2009-09-22T06:37:39Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11235-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเกิดครอสลิงค์บางส่วนของวัสดุอีพีดีเอ็มที่มีปริมาณของไดอีนแตกต่างกัน 2 ระดับโดยชนิดหนึ่ง คุณสมบัติจะคล้ายกับยาง อีกชนิดหนึ่งจะมีคุณสมบัติคล้ายพลาสติก โดยการฉายรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 การฉายรังสี ทำที่ปริมาณรังสีต่างๆ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดครอสลิงค์บางส่วนเท่านั้น คือ 1,2,3,4 และ 5 กิโลเกรย์ โดยจะทำการศึกษาถึง ธรรมชาติของอีพีดีเอ็ม คุณสมบัติเชิงกล ก่อนและหลังการฉายรังสี เพื่อที่จะได้ข้อแตกต่าง และคุณสมบัติของอีพีดีเอ็มแต่ละ เกรดที่ปริมาณรังสีที่ต่างๆ กัน ผลการวิจัยพบว่าสัดส่วนความเป็นเจลที่ปริมาณรังสีที่ศึกษา มีแนวโน้มการเกิดเจลเพิ่มขึ้น ในลักษณะที่แปรผันโดยตรงกับปริมาณรังสี โดย อีพีดีเอ็ม ชนิดที่มีปริมาณไดอีนสูงจะมีปริมาณเจลที่สูงกว่าชนิดที่มีไดอีน ต่ำกว่า ผลการวิจัยการไหลของวัสดุอีพีดีเอ็มพบว่าดัชนีการไหลของอีพีดีเอ็ม มีแนวโน้มที่ลดลงทั้งนี้เนื่องมาจากการเกิด ครอสลิงค์ขึ้นทำให้ความเป็นอิสระของโมเลกุลลดลง ทำให้การเคลื่อนตัวโมเลกุลยากขึ้นตามปริมาณรังสีแกมมาที่ได้รับ และการศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของอีพีดีเอ็ม พบว่าอีพีดีเอ็มทั้งสองชนิด ซึ่งเกิดการครอสลิงค์บางส่วนขึ้นทำให้ค่าต้านทาน แรงดึงที่เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะที่คุณสมบัติคล้ายพลาสติกจะเห็นได้อย่างชัดเจน และค่าความยืดของวัสดุอีพีดีเอ็มเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เนื่องมาจากการเกิดครอสลิงค์เฉพาะส่วนที่เป็นอสัณฐานเท่านั้นจึงดึงยืดได้ระยะที่มากขึ้น ตามปริมาณรังสีแกมมาที่ได้รับen
dc.description.abstractalternativeA study of partial crosslinking of EPDM with two different diene contents was conducted. One of EPDM grade was rubber like another one was plastic like. EPDMs were irradiated by gamma ray in vacuum at different does just enough to induce partial crosslinking in the polymer chain. Gamma irradiation doses were 1,2,3,4 and 5 kGy. It was found that gel forming at the doses studied gave gradually higher gel content with respect to gamma irradiation doses. EPDM with high diene content gave higher gel content than that of lower diene content. Melt flow index tend was found to be lower with higher rediation doses. Tensile property of EPDMs was improved with radiation doses. It was found however that increasing of radiation doses resulted in increasing of elongation especially plastic grade of EPDM. It was speculated that partial crosslinking of the EPDM was formed only of amorphous region and thus enhanced elongation property.en
dc.format.extent1650781 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1132-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.subjectเคมีนิวเคียร์en
dc.subjectโพลิเมอร์en
dc.titleการปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของอีพีดีเอ็ม โดยการทำให้เกิดครอสลิงค์บางส่วนด้วยการฉายรังสีแกมมาen
dc.title.alternativeMechnical properties improvement of EPDM by gamma irradiation induced partial crosslinkingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChyagrit.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1132-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kumsin_Tu.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.