Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11294
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิเศษ เสตเสถียร | - |
dc.contributor.advisor | สุธีร์ ศุภนิตย์ | - |
dc.contributor.author | กวี เปรมรัตนชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-22T12:49:59Z | - |
dc.date.available | 2009-09-22T12:49:59Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743310711 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11294 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การเลือกปฏิบัติด้านราคาเป็นรูปแบบการกำหนดราคาสินค้า และบริการที่สำคัญอย่างหนึ่งโดยผู้ประกอบการที่มีอำนาจผูกขาด เงื่อนไขสำคัญสำหรับการกระทำการเลือกปฏิบัติด้านราคาคือ การมีอำนาจผูกขาดอย่างเพียงพอ ความสามารถในการแบ่งแยกตลาดออกจากกัน และความแตกต่างกันของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ทั้งนี้ปัจจัยด้านความแตกต่างของต้นทุนการขายสินค้า หรือบริการไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การกำหนดราคาอย่างเลือกปฏิบัติแต่อย่างใด จากการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการเลือกปฏิบัติด้านราคามีความสลับซับซ้อนในตัวเองอยู่มาก พฤติกรรมนี้อาจให้ผลทั้งในแง่ที่ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ และอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อส่วนรวมได้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบของการเลือกปฏิบัติด้านราคา สภาพแวดล้อมของตลาด และเจตนาของผู้ประกอบการซึ่งมีอำนาจตลาดว่า ประสงค์ต่อผลจากพฤติกรรมนี้ไปในทางใด สำหรับมาตรการทางกฎหมายต่อการเลือกปฏิบัติด้านราคาพบว่า ทั้งสหรัฐอเมริกาซึ่งใช้กฎหมายป้องกันการผูกขาด ในระบบการควบคุมทางโครงสร้าง และสหภาพยุโรปที่ใช้กฎหมายการแข่งขันในระบบการควบคุมพฤติกรรม ต่างยอมรับแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ และพยายามบังคับใช้กฎหมายไม่ให้ขัดแย้งกับหลักการทางเศรษฐศาสตร์ โดยต่างมีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกัน คือการจำกัดการเลือกปฏิบัติด้านราคาที่ไม่พึงประสงค์ และการยอมรับการเลือกปฏิบัติด้านราคาที่อาจก่อประโยชน์ได้ในบางกรณี จุดแตกต่างคงมีเพียงระดับความเชื่อในนโยบายการแข่งขัน รูปแบบการบัญญัติกฎหมาย และวิธีการบังคับใช้กฎหมายเท่านั้น ในส่วนประเทศไทยพบว่า ผู้ประกอบการในประเทศไทยได้กระทำการเลือกปฏิบัติด้านราคาอย่างแพร่หลาย เป็นระยะเวลายาวนาน ประกอบกับความไร้ประสิทธิภาพของกฎหมายที่เป็นอยู่ จึงส่งผลให้การเลือกปฏิบัติด้านราคาที่ปรากฏในประเทศไทย เป็นไปอย่างไร้หลักเกณฑ์ ส่งผลเสียต่อโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก มาตรการทางกฎหมายที่พึงจะเป็นต่อการเลือกปฏิบัติด้านราคาในประเทศไทย จึงต้องมีความชัดเจนต่อการควบคุมการเลือกปฏิบัติด้านราคาที่ไม่พึงประสงค์ และต้องมีความยืดหยุ่นอย่างเพียงพอ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการ สามารถกระทำการเลือกปฏิบัติด้านราคาที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมได้ต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | Price discrimination is an important pattern to set up price for goods and service by monopoly powered entrepreneur. Significant terms for price discrimination are proper monopoly power, ability to separate market and the difference of elasticity of demand. Although, the difference of the cost of goods or service is not relevant directly to dicriminate pricing. According to the present study, price discrimination is quite complicate within itself. This practice may affect both the positive utility and the public damage depending on the forms of price discrimination, market environment and the intention of the entrepreneur. At the level of legal measure on price discrimination, both the United States which use the Antitrust Law in structural control system and the European Union which the Competition Law in conduct control system are acept in these economic ideas and try to enforce the law in order not to interfere with economic principle. The goals of this practice are the limitation of destructive price discrimination and the allowance of some cases of useful price discrimination. The different points of view are on the levels of competition policy, the forms of legistration and the ways of law enforcement. In Thailand, the price discrimination has been used by Thai entreprenuers for a long time. The defficiency of the present laws influence the unsystematic price discrimination and bring heavy damage to the economic and social structure. The proper laws to price discrimination in Thailand must emphasize on the control of destructive price discrimination and have enough elasticity for the entrepreneur to function on the advantage side which benifits to the whole system | en |
dc.format.extent | 1051744 bytes | - |
dc.format.extent | 796865 bytes | - |
dc.format.extent | 1378956 bytes | - |
dc.format.extent | 1984202 bytes | - |
dc.format.extent | 1303289 bytes | - |
dc.format.extent | 1194801 bytes | - |
dc.format.extent | 823336 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การเลือกปฏิบัติด้านราคา | en |
dc.subject | การกำหนดราคา | en |
dc.subject | กฎหมายป้องกันการผูกขาด | en |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | en |
dc.title | การเลือกปฏิบัติด้านราคาอันก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมทางการค้า | en |
dc.title.alternative | Price discrimination | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | กฎหมายธุรกิจ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kavee_Pr_front.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_ch1.pdf | 778.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_ch2.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_ch3.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_ch4.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_ch5.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kavee_Pr_back.pdf | 804.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.