Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11310
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธรรม อยู่ในธรรม-
dc.contributor.authorณัฐศิริ ศิริสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-24T08:04:37Z-
dc.date.available2009-09-24T08:04:37Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746349082-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11310-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงกรอบทางกฎหมายระหว่างประเทศอันเป็นที่ยอมรับสำหรับกิจกรรมการตรวจหาข้อมูลบนพื้นโลกจากดาวเทียม ซึ่งมีสาระสำคัญอยู่ที่การละเมิดสิทธิในข้อมูลที่ได้จากการประกอบกิจกรรมอันอาจนำมาซึ่งความขัดแย้งระหว่างประเทศได้ ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินกิจกรรมโดยอาศัยวิทยาการล้ำยุคประกอบกับการพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านสูง โดยเฉพาะกิจกรรมการตรวจหาข้อมูลบนพื้นโลกจากดาวเทียม ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างหลักเสรีภาพในอวกาศและหลักอธิปไตยของรัฐ นอกจากนี้ยังส่งผลมาถึงข้อพิพาทในประเด็นเรื่องการเข้าสู่ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลตลอดจนปัญหาลักษณะทางกฎหมายของข้อมูลที่ได้รับการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งในประเด็นปัญหาต่างๆ องค์การสหประชาชาติในฐานะที่เป็นองค์การระหว่างประเทศ โดยคณะกรรมการการใช้อวกาศภายนอกอย่างสันติได้พยายามหาหนทางประสานความขัดแย้งดังกล่าวแต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก คงได้แต่เพียงตราสารทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นข้อมติสหประชาชาติที่ 41/65 (3 ธันวาคม 1986) เท่านั้นซึ่งไม่มีฐานะเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศแต่อย่างใด ผลการวิจัยสรุปว่า จากการพิจารณาศึกษากฎหมายภายในของประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและยุโรป พบว่าแต่ละประเทศมีแนวความคิดทางกฎหมายที่ใช้กับกิจกรรมการตรวจหาข้อมูลบนพื้นโลกจากดาวเทียม ที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในแง่ของข้อความคิดทางกฎหมายหรือองค์กรที่กำกับดูแล สำหรับประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายที่ใช้บังคับกิจกรรมนี้โดยตรง ดังนั้น ข้อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย คือ ควรมีการบัญญัติกฎหมายภายในให้มีผลบังคับใช้ได้โดยมีความกระชับและชัดเจน นอกจากนี้ควรกำหนดให้มีองค์กรที่กำกับดูแล โดยมีความอิสระและรวมอำนาจการตัดสินใจที่องค์กรเดียวเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารงานen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the prospective of the accepted international remote sensing satellite legal framework, which provides the essential elements to protect against the infringement of laws concerning remote sensing data which is acquired and disseminated without the consent of the sensed state. This research is based on the use of high technology. It deals with remote sensing satellite activities and the conflict between the Open Sky Principle and the Sovereignty Principle : the right of the sensed state to control information about themselves, the right of the sensor to gather information, the right of third parties to have open access to and use of information, and the impact of remote sensing data protection. This research focuses on the activities of the United Nations Committee On the Peaceful Use of Outer Space (COPUOS). Principles on remote sensing have been adopted by the United Nations, (the G.A.RES.41/65 3 December 1986). They are Principles not laws. They are not enforceable but indicators of good practice. The conclusion that follows is the domestic law of the United States of America, Canada and Europe. It was found that each of them have the distinet in concepts and terms of formal regulations. For Thailand, there is no law enforcement. The author suggests that domestic law related to remote sensing activities should be explicited. In addition to issue managerial flexibility, Thailand should establish a supervisory organisation which is independent and has full authority in making decisions to make the execusion of the laws effective.en
dc.format.extent1182433 bytes-
dc.format.extent785686 bytes-
dc.format.extent2417765 bytes-
dc.format.extent3229427 bytes-
dc.format.extent4560343 bytes-
dc.format.extent3693881 bytes-
dc.format.extent1443863 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกลen
dc.subjectกฎหมายอวกาศen
dc.titleกรอบและแนวคิดสำหรับกฎหมายที่ใช้กับกิจกรรมการตรวจหาข้อมูลบนพื้นโลกจากดาวเทียมen
dc.title.alternativeThe legal framework necessary for regulating remote sensing activitiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSudharma.Y@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattasiri_Si_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_ch1.pdf767.27 kBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_ch2.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_ch3.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_ch4.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_ch5.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Nattasiri_Si_back.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.