Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี ธรรมอุปกรณ์-
dc.contributor.advisorรุ่งเพ็ชร เจริญวิสุทธิวงศ์-
dc.contributor.authorมาศรินทร์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-09-28T02:42:30Z-
dc.date.available2009-09-28T02:42:30Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746358049-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11340-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีกระบวนการติดตามการใช้ยารักษาโรคหืดในผู้ป่วยนอก ให้เป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม และศึกษาผลกระทบของการดำเนินงานตามรูปแบบที่กำหนด เภสัชกรได้เข้าไปค้นหาและแก้ไขปัญหาในกระบวนการใช้ยาในผู้ป่วยแต่ละราย ตั้งแต่ พฤศจิกายน 2539 ถึง กุมภาพันธ์ 2540 ที่โรงพยาบาลชุมพร มีผู้ป่วยเข้าร่วมในการศึกษานี้ 42 คน ได้ให้การติดตามการใช้ยาทั้งหมด 117 ครั้ง จากการศึกษาตรวจพบปัญหาได้ทั้งหมด 246 ปัญหา โดยพบปัญหาความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา จำนวน 9 ปัญหา (3.7%) ปัญหาความคลาดเคลื่อนในการจัดจ่ายยา 16 ปัญหา (6.5%) ปัญหาการไม่ใช้ยาตามแพทย์สั่ง 172 ปัญหา (69.9%) ปัญหาอาการอันไม่ถึงประสงค์จากการใช้ยา 49 ปัญหา (19.9%) โดยความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยาและการจัดจ่ายยา สามารถแก้ไขได้หมดในกระบวนการติดตามการใช้ยาที่กำหนด การดำเนินงานกระบวนการติดตามการใช้ยาที่กำหนดสามารถแก้ไขปัญหาได้ 193 ปัญหา (78.5%) มีปัญหาที่แก้ไขไม่ได้ 17 ปัญหา (6.9%) และปัญหาที่ไม่สามารถติดตามผลได้ 36 ปัญหา (14.6%) โดยพบว่าจำนวนปัญหาที่พบหลังการดำเนินการ ลดลงจากจำนวนปัญหาที่พบก่อนการดำเนินการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ alpha = 0.05 และระดับความรุนแรงโดยเฉลี่ยของอาการทางคลินิกของผู้ป่วย ลดลงจากก่อนผ่านกระบวนการติดตามการใช้ยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ alpha = 0.05 จากการศึกษาต้นทุนของกระบวนการติดตามการใช้ยา พบว่า มีต้นทุนคงที่ 1,155 บาทและต้นทุนแปรเปลี่ยน 32.77 บาทต่อผู้ป่วย 1 คน คิดเป็นต้นทุนรวมเฉลี่ย 60.27 บาทต่อผู้ป่วย 1 คน สำหรับผลการดำเนินงานกระบวนการติดตามการใช้ยาเป็นที่น่าพอใจ เพราะนอกจากจะค้นหาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ในกระบวนการใช้ยา ทำให้ปัญหาดังกล่าวลดลง หรือหมดไปแล้ว ต้นทุนของการดำเนินงานยังต่ำอีกด้วย ทั้งผู้เกี่ยวข้องส่วนใหญ่ยอมรับการดำเนินงานนี้ กล่าวคือมีความเห็นว่า กระบวนการติดตามการใช้ยารักษาโรคหืดมีประโยชน์ต่อผู้ป่วย และควรดำเนินการต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo establish an antiasthmatic drug monitoring process to provide the accurate and appropriate drug use in outpatient service, and to evaluate the impact of this established model. Problems in medication use process of each patient had been identified and solved by the pharmacist during November 1996 to February 1997 at Chumphon Hospital. Forty-two patients participated in this study with 117 episodes of monitoring service provided. Two hundred and forty-six problems were identified. Nine problems (3.7%) were prescribing errors, 16 problems (6.5%) dispensing errors, 172 problems (69.9%) patient noncompliance, and 49 problems (19.9%) adverse drug reactions. The prescribing and dispensing errors were completely corrected during this monitoring process. Out of 246 problems, 193 problems (78.5%) have been resovled. Only 17 problems (6.9%) were uncorrectable, and 36 problems (14.6%) could not be followed up. It was found that the number of medication use problems after the monitoring service was significantly lower than the number of problems before the service rendered at alpha = 0.05. In addition, the mean severity level of clinical symptom was significantly reduced in postmonitoring evaluation at alpha = 0.05. The cost study showed that the monitoring process had 1,155 baht of fixed cost and 32.77 baht per patient of variable cost accounted for total average cost of 60.27 baht per patient. In conclusion, the result of the implementation of antiasthmatic drug monitoring process in outpatients was satisfied. This monitoring process could be an effective model in detecting and solving problems of medication use process with low budget. The health care team and patients, involved with the monitoring process, were satisfied and accepted that this monitoring process was useful for the patients and should be an ongoing process.en
dc.format.extent788357 bytes-
dc.format.extent733300 bytes-
dc.format.extent911941 bytes-
dc.format.extent808394 bytes-
dc.format.extent1111384 bytes-
dc.format.extent747811 bytes-
dc.format.extent1277001 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาลชุมพรen
dc.subjectหืด -- การรักษาด้วยยาen
dc.subjectการใช้ยาen
dc.subjectความคลาดเคลื่อนทางยาen
dc.titleกระบวนการติดตามการใช้ยารักษาโรคหืดในผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลชุมพรen
dc.title.alternativeAntiasthmatic drug monitoring process in outpatients at Chumphon Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมโรงพยาบาลและคลินิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRawadee.D@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Massarin_Th_front.pdf769.88 kBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_ch1.pdf716.11 kBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_ch2.pdf890.57 kBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_ch3.pdf789.45 kBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_ch4.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_ch5.pdf730.28 kBAdobe PDFView/Open
Massarin_Th_back.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.