Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11341
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คณิต วัฒนวิเชีบร | - |
dc.contributor.author | ไพรัช เลิศอารยะพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-09-28T02:49:08Z | - |
dc.date.available | 2009-09-28T02:49:08Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743328483 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11341 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาผลกระทบเชิงทฤษฎีของตัวแปรการออกแบบในส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์และยานยนต์ ที่มีผลต่อกำลังงานสูญเสีย เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงตัวแปรการออกแบบเพื่อลดการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของยานยนต์ ในการลดกำลังงานสูญเสียนั้นสามารถทำได้จากการปรับปรุงประสิทธิภาพทางเทอร์โมไดนามิกส์ การลดกำลังงานสูญเสียในส่วนของเครื่องยนต์และยานยนต์ จากการศึกษาผลกระทบเชิงทฤษฎี ซึ่งไม่รวมผลกระทบทางด้าน dynamic load ของตัวแปรการออกแบบต่อกำลังงานสูญเสียทั้งในส่วนของเครื่องยนต์และยานยนต์โดยกำหนดขอบเขตของตัวแปรต่างๆ ในช่วงตัวแปรที่พิจารณาเพิ่มลดค่าของข้อมูล baseline engine data ในช่วงร้อยละ 10 นั้นพบว่า การปรับปรุงประสิทธิภาพทางเทอร์โมไดนามิกส์สามารถกระทำได้โดยการลดค่าของ combustion duration การปรับองศาจุดระเบิดล่วงหน้าให้มีค่ามากขึ้น และการเพิ่มค่าอัตราส่วนกำลังอัด ซึ่งจากผลการประเมินเมื่อไม่คิดผลของ heat losses พบว่าการปรับปรุงค่าของตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากการคำนวณเชิงทฤษฎีสามารถปรับปรุง Net indicated power ให้เพิ่มขึ้นได้ราวร้อยละ 44 จากการวิเคราะห์ผลเชิงทฤษฎีของการลดกำลังงานสูญเสียในส่วนของเครื่องยนต์พบว่าการปรับปรุงสามารถกระทำได้ โดยการลดแรงเสียดทานทางกล อาทิ การลดค่าความหนืดของน้ำมันหล่อลื่น การลดขนาดของ Crank arm และการลดขนาดรัศมีของ connecting rod bearing ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งจากการพิจารณาเปรียบเทียบผลของการปรับปรุงตัวแปรต่างๆ เทียบกับข้อมูล baseline engine data ในแต่ละองค์ประกอบกำลังงานสูญเสียเมื่อเครื่องยนต์ทำงานที่ความเร็วรอบ 2600 รอบต่อนาที พบว่าการปรับปรุงตัวแปรในส่วนของ Crankshaft bearing, Piston ring, Connecting rod bearing, Piston skirt, Air conditioning compressor, Cam system, Pumping losses และ Alternator สัดส่วนร้อยละของการลดกำลังงานสูญเสียเนื่องจากองค์ประกอบต่างๆ เป็น 26.65, 23.08, 15.28, 9.63, 7.52, 7.14, 5.73 และ 4.97 ตามลำดับ จากการประเมินผลเชิงทฤษฎีของการปรับปรุงตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อกำลังงานสูญเสียในส่วนของเครี่องยนต์สามารถลดกำลังสูญเสียในส่วนของเครื่องยนต์สามารถลดกำลังสูญเสียรวมลงได้ราวร้อยละ 19.7 ส่วนการลดกำลังงานสูญเสียในส่วนของยานยนต์ที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์ 2600 รอบต่อนาที ซึ่งเทียบเท่าการทำงานเมื่อเครื่องยนต์ขับยานยนต์ ที่ความเร็วของยานยนต์ 83.3 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถทำได้โดยการลดค่า Drag coefficient และ Frontal area ซึ่งกำลังงานสูญเสียในองค์ประกอบจาก Air resistance และ Rolling resistance สามารถลดลงได้ร้อยละ 17.99 และ 14.95 ตามลำดับ จากการคำนวณเชิงทฤษฎีพบว่าเมื่อปรับปรุงตัวแปรต่างๆ ที่มีต่อกำลังงานสูญเสียในส่วนของยานยนต์สามารถลดกำลังงานสูญเสียลงราวร้อยละ 16.6 อาจคาดได้ว่าผลรวมที่ได้จากการปรับปรุงปัจจัยต่างๆของเครื่องยนต์และยานยนต์จะลดการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง | en |
dc.description.abstractalternative | Presents a theoretical effects of design parameters on vehicle power losses in order to find the ways to improve design parameters for vehicle fuel consumption reduction. Power losses reduction can be achieved by three folds: improving thermodynamics cycle's efficiency, reducing engine's friction losses and reducing vehicle's traction power. Results of design parameters, dynamic load effects are exclusive, that limited parameters range within about 10% of baseline engine data show that the thermodynamics efficiency improvement could be made by decreasing combustion duration, increasing degree of spark advance and increasing compression ratio. Theoretical investigation which heat losses effect is neglected was found that net indicated power may be increased about 44%. Results of theoretical analysis to reduce Engine friction losses show that the improvement could be made by reducing mechanical friction such as reducing absolute viscosity in oil lubrication, reducing crank arm size and reducing radius of connecting rod bearing etc. Comparative results between performance of improved parameters engine and baseline engine at engine speed of 2600 rev/min have been investigated. It was found that the proportion of decreasing engine friction losses from crankshaft bearing, piston ring, connecting rod bearing, piston skirt, air conditioning compressor, cam system, pumping losses and alternator are 26.65%, 23.08%, 15.28%, 9.63%, 7.52%, 7.14%, 5.73% and 4.97 respectively. The theoretical assessment of engine friction losses could be concluded that the engine power losses may be reduced about 19.7%. Reducing the traction power at engine speed of 2600 rev/min which is equivalent to the operating condition of engine driven a vehicle at speed of 83.3 km/hr. may be achieved by decreasing drag coefficient and decreasing frontal area. By improving vehicle parameters, traction power from air resistance and rolling resistance may be reduced by 17.99% and 14.95% respectively. The theoretical calculation show that when we improved all parameters traction power may be improved by 16.6%. It should be noted that the range of designed parameters presented in this thesis are employed in order to consider results and directions of parameters changed. In practice, some parameters limit range that has been selected are fictitious values. However, the design parameters improvement for vehicle fuel economy about 15% may be possible. | en |
dc.format.extent | 1304002 bytes | - |
dc.format.extent | 714157 bytes | - |
dc.format.extent | 1382663 bytes | - |
dc.format.extent | 919804 bytes | - |
dc.format.extent | 1057660 bytes | - |
dc.format.extent | 1386770 bytes | - |
dc.format.extent | 1004255 bytes | - |
dc.format.extent | 817645 bytes | - |
dc.format.extent | 1766866 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รถยนต์ -- เครื่องยนต์ | en |
dc.subject | รถยนต์ -- การใช้เชื้อเพลิง | en |
dc.subject | การออกแบบวิศวกรรม | en |
dc.subject | รถยนต์ -- การออกแบบและการสร้าง | en |
dc.title | การศึกษาผลกระทบเชิงทฤษฎีของตัวแปรในการออกแบบต่อการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของยานยนต์ | en |
dc.title.alternative | Theoretical effects of design parameters on vehicle fuel consumption | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเครื่องกล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pairat_Le_front.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch1.pdf | 697.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch2.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch3.pdf | 898.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch4.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch5.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch6.pdf | 980.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_ch7.pdf | 798.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pairat_Le_back.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.