Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบวรศักดิ์ อุวรรณโณ-
dc.contributor.authorพีรศักดิ์ ภัทรปีติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-09-30T06:55:48Z-
dc.date.available2009-09-30T06:55:48Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746360892-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11411-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractศึกษาและวิเคราะห์ถึงการใช้อำนาจของศาลฎีกาในคำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ 913/2536 กรณีการยึดทรัพย์สินนักการเมือง โดยศาลฎีกาวินิจฉัยว่าประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ 26 ซึ่งให้อำนาจแก่คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน เพื่อวินิจฉัยให้ทรัพย์สินของนักการเมืองผู้ร่ำรวยผิดปกติตกเป็นของแผ่นดิน ใช้บังคับมิได้ เพราะเหตุขัดหรือแย้งต่อธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2534 ผลจากการศึกษาพบว่า ศาลยุติธรรมได้ยืนยันบรรทัดฐานจากคำพิพากษาฎีกาคดีก่อนๆ และขณะเดียวกันยังได้สร้างบรรทัดฐานขึ้นใหม่ในคำวินิจฉัยฉบับนี้ เพื่อยืนยันอำนาจศาลยุติธรรมในการพิจารณาวินิจฉัยกฎหมายมิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ทั้งๆ ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 มีบทบัญญัติก่อตั้งคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ เพื่อให้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาดังกล่าวแล้วก็ตาม ดังนั้น เพื่อป้องกันมิให้การใช้อำนาจระหว่างศาลยุติธรรมและคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งและไม่ลงรอยกันในเรื่องขอบเขตอำนาจที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และโดยเฉพาะข้อโต้แย้งที่เกี่ยวโยงถึงหลักการแบ่งแยกอำนาจที่อาจถูกหยิบยกขึ้นโต้แย้งเสมอๆ จึงสมควรที่จะกำหนดขอบเขตอำนาจขององค์กรทั้งสอง ดังนี้ ควรกำหนดให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ที่ถูกยกเลิกและสิ้นผลบังคับใช้แล้ว โดยให้หมายรวมถึงกรณีประกาศหรือคำสั่งของคณะปฏิวัติรัฐประหารฉบับต่างๆ ที่มีปัญหาว่าขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ด้วย และขณะเดียวกันควรกำหนดให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่ได้ก่อตั้งคณะตุลาการรัฐธรรมนูญเท่านั้น ทั้งนี้การกำหนดของเขตอำนาจเช่นนี้ ก็เพื่อก่อให้เกิดความชัดเจนในการใช้อำนาจ ทั้งยังเป็นการตรวจสอบและถ่วงดุลการใช้อำนาจระหว่างองค์กรทั้งสองไปในตัวด้วย ซึ่งจะสามารถขจัดปัญหาความขัดแย้งและความไม่ลงรอยกันในการใช้อำนาจดังกล่าวได้en
dc.description.abstractalternativeAims to study and analyse the Supreme Court's decision No.913/2536(1993) about the assets seizure of property of politicians. The Supreme Court decided that the annoucement of the National Peace Keeping Council No.26 authorizing the Committee of Property Review to decide the seizure of the property belonging to unuseually rich politicians is contrary to principles laid down in the Provisional Constitution BE.2534(1991). The research finding is that the Court of Justice confirmed its precedent in previous cases. At the same time, it had also created the new criterion in this decision to confirm the jurisdiction of the Court over judicial review of laws contrary to previous constitution although the Constitution of the Kingdom of Thailand BE.2534(1991) (actually in force after the Provisional Constitution of 1991) has established the Constitutional Tribunal to decide on the constitutionality of laws by asserting that this Constitutional Tribunal is vested only with jurisdiction over the constitutionality of laws under the present constitution only. Therefore in order to avoid discrepancy between jurisprudence of the two institutions. Recommendations are as follow. On one hand, The Court of Justice should have the power to decide whether the provision of law is contradictory to or inconsistent witn the previous constitutions. On the other hand, The Constitutional Tribunal should have the power to decide whether the provision of law is unconstitutional only according to the current constitution.en
dc.format.extent1036893 bytes-
dc.format.extent1031130 bytes-
dc.format.extent2957535 bytes-
dc.format.extent3910791 bytes-
dc.format.extent4303796 bytes-
dc.format.extent7817989 bytes-
dc.format.extent1040180 bytes-
dc.format.extent2359932 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายรัฐธรรมนูญen
dc.subjectนักการเมือง -- ไทยen
dc.subjectประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช) ฉบับที่ 26en
dc.subjectการยึดทรัพย์en
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครองen
dc.titleปัญหาทางกฎหมายว่าด้วยการยึดทรัพย์สินนักการเมืองตามประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ฉบับที่ 26en
dc.title.alternativeThe legal problems concerning assets seizure of property of politicians according to the announcement of National Peace Keeping Council (NPKC.) No.26en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBorwornsak.U@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pirasak_Ph_front.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch1.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch2.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch3.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch4.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch5.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_ch6.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Pirasak_Ph_back.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.