Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorรังสฤษฏ์ เหมบุญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-09-30T08:41:26Z-
dc.date.available2009-09-30T08:41:26Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746355937-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11416-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractเพื่อศึกษาถึงผลกระทบของความตกลงว่าด้วยการประเมินราคาศุลกากรภายใต้กรอบของแกตต์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศ ที่มีผลกระทบต่อกฎหมายเศรษฐกิจของไทย ผลการวิจัยพบว่า ความตกลงว่าด้วยการประเมินราคาศุลกากรได้ร่างขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาความหลากหลายของระบบการประเมินราคาศุลกากรที่ทุกประเทศทั่วโลกมีวิธีการประเมินราคาศุลกากรที่แตกต่างกันและมีลักษณะเป็นการปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ อันก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ สังคมระหว่างประเทศจึงต้องการให้มีระบบการประเมินราคาที่จะนำมาใช้บังคับร่วมกัน โดยยึดหลักเกณฑ์ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน และสามารถคาดการณ์ได้ ซึ่งก่อให้เกิดความแน่นอนและเป็นการส่งเสริมต่อการค้าระหว่างประเทศ และจากการวิจัยพบว่า ระบบการประเมินราคาศุลกากรของไทย มีลักษณะเป็นการปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ ประเทศไทยซึ่งเป็นสมาชิกขององค์กรการค้าโลกจึงมีพันธะกรณีที่จะต้องจัดทำกรอบบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการประเมินราคาศุลกากรให้สอดคล้องกับระบบราคาแกตต์ จากการวิจัยสรุปได้ว่า ในปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจของโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากโดยแต่ละประเทศมีความต้องการให้มีการค้าอย่างเสรีมากขึ้น ระบบการประเมินราคาที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องมีลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการค้าระหว่างประเทศ และจากการศึกษาวิธีการประเมินราคาศุลกากรของประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และยุโรป ซึ่งได้นำเอาระบบราคาแกตต์มาใช้แล้วต่างมีบทบัญญัติของกฎหมายที่เป็นไปตามระบบราคาแกตต์แทบทุกตัวอักษร ดังนั้น ข้อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย คือ การจัดทำบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับการประเมินราคาศุลกากรที่สอดคล้องกับระบบราคาแกตต์ เพื่อให้เป็นกฎหมายเฉพาะ (Sui Generis) แยกต่างหากจากกฎหมายอื่น เพื่อให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the effects of Customs Valuation Agreement under GATT, which is an international agreement that affects on Thai Economic Law. The results of this research found that the customs valuation Agreement was drafted for solving the variety of customs valuation systems in every country all around the world that have different methods in customs valuation. Each method was set to protect each countries' advantages. This variety creates the barriers to international trade. The international societies, therefore, need a common valuation system that is a simple and predictable principle. This creates the certainty and facilitates the international trade. Besides, the research found Thailand customs valuation systems has a protective advantages of country. Since Thailand is a member of World Trade Organization, Thailand has legal binding to set a customs valuation law to be consistent to GATT valuation system. The conclusion of this research is that the current economic world has changed tremendously. Each country needs more liberal trade, and a suitable valuation system for the current economics. The system must facilitate the international trade. From the studies of the U.S.A., Canada and European Union (customs valuation methods which used GATT valuation system) all of their methods follow GATT valuation system almost verbertim. Hence the most suitable suggestion for Thailand is to set up a new valuation law that is consistent to GATT valuation system as a sui generis to separate obviously from others law.en
dc.format.extent1088767 bytes-
dc.format.extent2251382 bytes-
dc.format.extent2445788 bytes-
dc.format.extent1413372 bytes-
dc.format.extent1604593 bytes-
dc.format.extent2451510 bytes-
dc.format.extent1034803 bytes-
dc.format.extent778521 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการค้าระหว่างประเทศen
dc.subjectราคาศุลกากรen
dc.titleผลของความตกลงว่าด้วยการประเมินราคาศุลกากรต่อกฎหมายเศรษฐกิจของไทยen
dc.title.alternativeEffects of agreement on customs valuation on Thai economic lawen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChumphorn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rangsarit_He_front.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch1.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch2.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch3.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch4.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch5.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_ch6.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarit_He_back.pdf760.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.