Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11432
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ บุญโญภาส | - |
dc.contributor.advisor | วันชัย รุจนวงศ์ | - |
dc.contributor.author | สหรัฐ สิริวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-01T08:12:54Z | - |
dc.date.available | 2009-10-01T08:12:54Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743317643 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11432 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษา เพื่อค้นหาความเหมาะสมของบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 286 ความผิดฐานดำรงชีพอยู่ด้วยรายได้ของหญิงซึ่งค้าประเวณีกับกรณีการวินิจฉัยคดีของศาลในการพิพากษายกฟ้องในความผิดฐานนี้อยู่เสมอ แม้ศาลจะฟังข้อเท็จจริงได้ว่าจำเลยรับเงินหรือประโยชน์อย่างอื่นจากหญิงซึ่งค้าประเวณีก็ตาม เพียงแต่จำเลยนำสืบได้ว่ามีรายได้อย่างอื่นในการดำรงชีพเท่านั้น จากการศึกษาวิจัยพบว่า ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 286 มีหลักการลงโทษบุคคลที่กระทำตนเป็นชายแมงดาตามแนวความคิดสมัยก่อนเท่านั้น แต่ในปัจจุบันสังคมมีความเจริญก้าวหน้าไปมาก จึงทำให้บทบัญญัติดังกล่าวไม่อาจลงโทษผู้กระทำความผิดในข้อหานี้ได้ ประกอบกับบทบัญญัติที่เป็นข้อสันนิษฐานของกฎหมายตามวรรคสองของมาตราดังกล่าวมีความไม่ชัดเจนหรือยังก่อให้เกิดการตีความในทางที่แคบ ทำให้กฎหมายในเรื่องนี้ใช้บังคับไม่ได้ผลและเกิดความไม่เป็นธรรมกับประชาชนในสังคม ผู้วิจัยได้เสนอแนะทางแก้ไขโดยการปรับปรุงบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 286 เสียใหม่ เพื่อให้กฎหมายดังกล่าวมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน กล่าวคือ เปลี่ยนแปลงถ้อยคำจากเดิม เพื่อให้หลักการของกฎหมายมีแนวความคิดเป็นสมัยปัจจุบัน รวมทั้งแก้ไขข้อสันนิษฐานของกฎหมายที่เป็นปัญหาให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยบัญญัติลงโทษบุคคลที่รับรายได้หรือแสวงหาผลประโยชน์จากการค้าประเวณี ตลอดจนนำมาตรการทางกฎหมายอื่นๆ เช่น หลักความผิดฐานสมคบกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มาบังคับใช้ควบคู่กันไป ทั้งนี้ เพื่อให้การปราบปรามการค้าประเวณีและธุรกิจบริการทางเพศมีประสิทธิภาพมากขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis is focused on studying and finding out a suitability of a provision in the Penal Code's Section 286 on the offence of subsisting on the earning from the prostitute and the frequent acquittal of the accused even though the court found the fact that the accused had received money or an interest from the prostitute. The acquittal of the accused was usually decided by the court only when he said that he subsisted on other earnings. This thesis found that the Penal Code's Section 286 is able to punish only old-style pimps. However, the changing in socio-economic conditions makes this Section becomes obsolete. Those pimps cannot be punished. Moreover, as the provision in the said Section's second paragraph is ambiguous, there is a problem on interpretation. The concerned issue in the law was not been efficiently enforced so that people do not receive justice. The researcher proposes that the Penal Code's Section 286 should be amended to be more suitable for current socio-economic situation. Existing terms should be changed to modernize provision in the said Section and its problematic legal assumption should also be amended to make it clear by stipulating punishments for persons receiving income or seeking interest from prostitution. Moreover, the researcher also proposes that the conspiracy offence and the Anti-Money Laundering Law should also be enforced to all persons who receive benefit or exploit prostitution. This will lead to more efficiently crack down of the prostitution and flesh trade business. | en |
dc.format.extent | 993591 bytes | - |
dc.format.extent | 815582 bytes | - |
dc.format.extent | 1237390 bytes | - |
dc.format.extent | 1295110 bytes | - |
dc.format.extent | 1469046 bytes | - |
dc.format.extent | 831530 bytes | - |
dc.format.extent | 790804 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การค้าประเวณี | en |
dc.subject | โสเภณี | en |
dc.subject | แมงดา (คน) | en |
dc.title | ความผิดฐานดำรงชีพอยู่ด้วยรายได้ของหญิงซึ่งค้าประเวณี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 286 | en |
dc.title.alternative | Offence of subsists on the earning of the prostitute according to penal code section 286 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Saharat_Si_front.pdf | 970.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_ch1.pdf | 796.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_ch2.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_ch3.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_ch4.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_ch5.pdf | 812.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saharat_Si_back.pdf | 772.27 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.