Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิชัย อัสสะบำรุงรัตน์-
dc.contributor.advisorภานุ พรรณรักษ์-
dc.contributor.authorธนเทพ วาสนาเพียรพงศ์, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-27T02:56:54Z-
dc.date.available2006-07-27T02:56:54Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740315321-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1143-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractกระบวนการอิเล็คโตรไลซิสโดยใช้เมมเบรน แยกโซเดียมคลอไรด์ให้เป็นโซเดียมไฮดรอกไซด์ และแก๊สคลอรีน เซลล์ที่ใช้เป็น AZEC อิเล็คโตรไลเซอร์ จากบริษัท อาซาฮีกลาส จำกัด ประเทศญี่ปุ่น เมมเบรนที่ใช้เป็นแบบพอลิเมอร์ผสม ซึ่งมีคุณสมบัติในการถ่ายเทโซเดียมไอออน จากการศึกษาหาความสัมพันธ์ของประสิทธิภาพกระแสจากกระบวนการผลิต โดยการเปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ในด้านแอโนด และความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ในด้านคาโธด ที่อุณหภูมิหนึ่งๆ สามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ระหว่างค่าการถ่ายเทผ่านเมมเบรนของโซเดียมไอออน กับความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยความสัมพันธ์ดังกล่าวอยู่ใต้สภาวะที่ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ขาออกด้านแอโนด มากกว่า 220 กรัมต่อลิตร และอุณหภูมิของการอิเล็คโตรไลซิสคงที่ ที่ 90 องศาเซลเซียส พบว่าเมมเบรนมีการเลือกจำเพาะต่อโซเดียมไอออน ซึ่งจะให้ประสิทธิภาพกระแสไฟฟ้าสูงมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้การวิเคราะห์ผลจากอิเล็คโตรออสโมซิสที่จะทำให้เกิดการถ่ายเทของน้ำผ่านเมมเบรน จากด้านแอโนดไปด้านคาโธด ทราบว่าถ่ายเทของน้ำผ่านเมมเบรนจะเป็น 3.5 โมล ต่อโซเดียมไอออน ซึ่งได้จากการทดลองการหาอัตราการไหลของน้ำผ่านเมมเบรน การสร้างสมการทางคณิตศาสตร์ในกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่องภายใต้สภาวะทรงตัวที่อุณหภูมิคงที่ ที่ 90 องศาเซลเซียส ได้มาจากการทำสมดุลมวลของระบบ ข้อมูลประสิทธิภาพกระแสเมื่อความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ขาออกด้านคาโธดเปลี่ยนไป และข้อมูลการถ่ายเทของน้ำผ่านเมมเบรน ที่ได้จากข้อมูลการผลิต สมการทางคณิตศาสตร์ได้ทำนายผลด้านขาออก ได้ใกล้เคียงเมื่อทำการเปรียบเทียบกับผลจากการเดินการผลิตจริง โดยมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน 3.7 เปอร์เซ็นต์ การนำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์มาศึกษาการอิเล็คโตรไลซิส ที่ต่อแบบอนุกรม พบว่าช่วงที่ทำการศึกษานั้นไม่สามารถช่วยลดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ เมื่อเทียบกับการต่อแบบขั้นตอนเดียวen
dc.description.abstractalternativeA two-compartment membrane electrolysis cell is used to convert sodium chloride into sodium hydroxide and chlorine gas. The cells are equipped with AZEC membranes from Asahi Glass Co., Ltd. (Japan). Due to the transfer of sodium ion through the membrane, this transfer decreases current efficiency. The study of current efficiency varies either sodium hydroxide concentration or sodium chloride at each temperature. Correlation of sodium transport can relate with sodium hydroxide concentration under sodium chloride concentration above 220-g/lit and constant temperature at 90 ํC. Water transfer through membrane is due to electroosmosis. It appears that sodium transport ion migrates through the membrane with about 3.5 moles of water per mole of sodium ion. Using material balance, current efficiency data and water transfer data obtained in process develops modeling of a continuous feed process in the steady state mode at 90 ํC. The model predictions agree well with operation results with error less than 3.70%. In cascade operation, it was found that the cascade operation does not reduce the electric power consumption within the range of study.-
dc.format.extent9162796 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en
dc.subjectอุตสาหกรรมคลอร์-แอลคาไลน์en
dc.subjectเมมเบรนแลกเปลี่ยนไอออนen
dc.subjectการแยกสลายด้วยไฟฟ้าen
dc.titleการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของกระบวนการแยกสลายด้วยไฟฟ้าที่ใช้ไอออนเอกเชนจ์เมมเบรนในอุตสาหกรรมคลอร์-อัลคาไลen
dc.title.alternativeMathematical modeling of an electrolysis process using ion exchange membrane in the chlor-alkali industryen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfchsas@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanatep.pdf9.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.