Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ แสงวงค์วาณิชย์-
dc.contributor.authorไพศาล สุดวิลัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-10-07T03:28:58Z-
dc.date.available2009-10-07T03:28:58Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740304214-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11445-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอวิธีการปรับปรุงสมรรถนะของระบบควบคุมเวกเตอร์แบบไร้เซนเซอร์วัดความเร็วสำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำในย่านความเร็วต่ำ โดยการเพิ่มวงรอบควบคุมกระแสเข้าไปในระบบเพื่อลดทอนความผิดพลาดและความเพี้ยนของกระแสสเตเตอร์ที่เกิดจากการประวิงเวลาสวิตช์และความไม่เป็นอุดมคติของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง สำหรับปัญหาเกี่ยวกับการที่ระบบประมาณค่าความเร็วมักจะขาดเสถียรภาพในโหมดการทำงานแบบคืนพลังงานนั้น ผู้วิจัยได้นำเสนอวิธีการใช้อัตราขยายป้อนกลับของตัวสังเกตในการปรับปรุงให้ระบบประมาณค่าความเร็วมีเสถียรภาพในทุกๆ ย่านการทำงานของมอเตอร์รวมทั้งในย่านคืนพลังงานด้วย นอกจากนี้แล้วระบบที่พัฒนาขึ้นนี้ยังสามารถแก้ไขปัญหาการออกตัวหรือออกตัวซ้ำของมอเตอร์เนื่องจากแหล่งจ่ายไฟขาดตอนเป็นระยะเวลาสั้นๆ โดยจะช่วยให้มอเตอร์ออกตัวได้อย่างรวดเร็วและปราศจากกระแสเกิน ผลการทดสอบกับระบบจริงยืนยันถึงประสิทธิผลของระบบที่ได้พัฒนาขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe aim of this thesis is to introduce a current control loop into the decoupling control based speed sensorless induction motor drive so as to improve its performance in the low speed region. The current controller effectively attenuates the waveform distortion and tracking error of the stator current which are caused by the dead-time effect, non-deal switching devices, etc. Regarding the instability problem in the low speed regenerative region, the author has proposed a new feedback gain for the adaptive observer to restore the stability for the whole operating region including the regenerative mode. The improved sensorless system also alleviates the interruption problem associated with the starting and restarting from an unknown initial motor speed owing to its fast speed tracking and current control. The experimental results verify the effectiveness of the developed sensorless drive.en
dc.format.extent2514659 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระแสไฟฟ้า -- การควบคุมen
dc.subjectมอเตอร์เหนี่ยวนำen
dc.titleการปรับปรุงสมรรถนะของระบบขับเคลื่อนมอเตอร์เหนี่ยวนำไร้เซนเซอร์วัดความเร็วในย่านความเร็วต่ำen
dc.title.alternativePerformance improvement of a speed-sensorless induction motor drive in the low speed regionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomboon.Sa@Chula.ac.th  -
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phaisarn.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.