Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์ชัย คิรินทร์ภาณุ-
dc.contributor.authorรัฐภูมิ ปาการเสรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-10-07T04:03:10Z-
dc.date.available2009-10-07T04:03:10Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312632-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11451-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะ (1.)ทราบสภาพปัญหา และวิเคราะห์ถึงโครงสร้างของปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ศึกษา (2.)เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ในเขตเมืองชั้นใน และ (3.)เสนอแนะรูปแบบทางกายภาพที่เหมาะสมสำหรับอาคารในพื้นที่เมืองชั้นใน โดยวิธีการศึกษาเริ่มจากการสำรวจลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ซึ่งนำมาใช้เป็นเกณฑ์แบ่งพื้นที่ออกเป็น 23 กลุ่ม และสอบถามผู้ใช้สอยพื้นที่ทั้งสิ้น 369 ตัวอย่างทั้งกลุ่มบุคคลจากภายนอก และผู้อยู่อาศัยภายในพื้นที่ ถึงสภาพปัญหาและระดับความรุนแรงตลอดจนทัศนคติต่อสาเหตุของปัญหา แล้วจึงวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผลระหว่างลักษณะทางกายภาพกับสภาพปัญหา พื้นที่ศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของ "ประตูน้ำ" ย่านการค้าเก่าแก่ในเขตเมืองชั้นใน ที่ปัจจุบันมีสภาพทรุดโทรมเนื่องจากขาดการพัฒนามาเป็นเวลานาน มีสิ่งปลูกสร้างที่หนาแน่นแต่กลับมีสัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่คุ้มค่า มีความปะปนของกิจกรรมการใช้สอยและรูปลักษณ์อาคารจนทำให้เกิดความไม่สวยงาม และ โครงข่ายและขนาดของระบบโครงสร้างพื้นฐานยังขาดมาตรฐานโดยเฉพาะถนนและทางเดินเท้า สภาพทางกายภาพที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาต่างๆในการใช้สอยพื้นที่ โดยเฉพาะ ปัญหามลภาวะทางอากาศ ปัญหาจราจรติดขัด ปัญหาความไม่สะดวกในการเดินทาง ปัญหามลภาวะทางเสียง และ ปัญหาอากาศไม่ถ่ายเท สถานการณ์เหล่านี้ ได้นำพื้นที่เข้าสู่ความเป็นย่านการค้าที่เสื่อมโทรม ดังนั้นจึงได้เสนอแนะให้มีการพัฒนาย่านการค้าเก่าแห่งนี้ ในการพัฒนาได้กำหนดให้พื้นที่คงบทบาทความเป็นย่านการค้าเก่า ด้วยศักยภาพของที่ตั้งโดยให้เพิ่มระดับความเข้มข้นในการใช้ที่ดินขึ้นเพื่อให้ สอดคล้องกับข้อกำหนดผังเมืองรวมและนโยบายการพัฒนาทั้งในระดับภาคจนถึงระดับท้องถิ่น แนวทางการพัฒนาแบ่งออกเป็น 2 ระดับตามเครื่องมือในการฟื้นฟูเมืองซึ่งได้แก่ (1.)การบูรณะปรับปรุง สำหรับการบรรเทาปัญหาในชั้นต้น 5 ประการคือ การซ่อมแซมอาคาร, การจัดระเบียบการใช้ถนนและทางเท้า, การควบคุมกิจกรรมการใช้สอยอาคาร, การปลูกต้นไม้และจัดหาสวนหย่อม, การเพิ่มเติมสาธารณูปโภคสาธารณูปการ และ (2.)การพัฒนาฟื้นฟู สำหรับการแก้ไขปัญหาระยะยาวที่โครงสร้างทางกายภาพของพื้นที่ ด้วยการปรับเปลี่ยนรูปแบบและการใช้ประโยชน์ของสิ่งปลูกสร้าง และ พัฒนาโครงข่ายโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งทำให้เพิ่มพื้นที่ใช้สอยขึ้นอีก 430,000 ตารางเมตรทั่วทั้งพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณที่มีศักยภาพจากการเข้าถึง เช่น บริเวณสี่แยกประตูน้ำ และที่ติดที่ติดถนนเพชรบุรี รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ทางสัญจนขึ้นจากร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมด การดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายสามารถทำได้โดยผ่านกลไกทางด้านกฏหมายผังเมือง, องค์กรบริหารที่คลอบคลุมการจัดการที่ดิน และเงินทุน และความร่วมมือจากประชาชนen
dc.description.abstractalternativeThe thesis objectives were (1.) to understand and analyze structure of problems that cause of physical environment in the study area, (2.) to propose guidelines of solving physical problem in the city core area, (3.) to propose the suitable building form for inner city area. The research methodology was surveying the study area to collect and analyze physical data in order to classify the area to 23 zones, inquiring 369 samples which include people who live outside and inside community about their problem perception and attitudes to causes of problems. Finally, the study analyzed the logical relationship between physical environment and functional problems. Study area, Pratunam, is an old shopping district in Bangkok's downtown. Presently, the area is in poor condition because it has not been developed for a long time which causes deterioration. The built up area is dense but has a low intensity to respond its land value. There are a lot of contrast between the land utilization activities and the building characters. The infrastructures' network and capacity are under standard especially roads and pedestrians. The physical environment causes many problems including air-pollution, traffic jam, uncomfortable transportation, noise and air-ventilation. This phenomenon has brought this area to be deteriorated commercial area. Therefore, we should propose the development guidelines to this old commercial area. To develop the study area, we proposed to maintain its role as an old commercial area due to its location potential by increasing land use intensity responding to the Bangkok Comprehensive Plan and regional and local policies. Development guidelines adhere to the principles of urban renewal which covered 2 levels according to the degrees of their problems: (1.) Rehabilitation for relieving the preliminary problems which consist of building restoration, landscaping including footpath, road and garden, building use control, and infrastructure (2.) Redevelopment for resolving long-term problems which directly effect physical structure and infrastructure network. Concentration on redevelopment process, we proposed the utilized area to be extended by 430,000 sq.m. focusing on the high potential in accessibility : Pratunam Square Area, and area attached to Petchburi road, and circulation area will be increased from 10 to 20 percent of total land area. This achievement will be implemented under the City Planning laws, the administrative organizations including land management and funding, and public participation.en
dc.format.extent20549011 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.115-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการใช้ที่ดินในเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectการฟื้นฟูเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.titleแนวทางการปรับปรุงย่านประตูน้ำฝั่งตะวันออกen
dc.title.alternativeThe development guidelines on the Eastern Patunam areaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวางผังเมืองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSakchai.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.115-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rathphum.pdf20.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.