Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุษฎี ชาญลิขิต | - |
dc.contributor.advisor | วรวุฒิ ตันติวนิช | - |
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ บุญลือ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | เชียงราย | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-07T07:23:30Z | - |
dc.date.available | 2009-10-07T07:23:30Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743322515 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11471 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมเป็นแหล่งฝังกลบขยะมูลฝอยรวมอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ของสุขาภิบาล 7 แห่งในอำเภอแม่สาย แม่จัน และเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยใช้เกณฑ์การเลือกพื้นที่ของสถาบันภายในและต่างประเทศ การวิจัยกระทำโดยจัดเก็บข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิไว้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรรมวิธีในการหาพื้นที่เหมาะสมเพื่อฝังกลบขยะมูลฝอย มีขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนแรกใช้เทคนิคการวางซ้อนข้อมูลเพื่อเลือกพื้นที่ศักยภาพเบื้องต้นจำนวน 26 แห่ง ขั้นตอนที่สอง ตรวจสอบพื้นที่ศักยภาพเบื้องต้นดังกล่าวกับสภาพพื้นที่จริงในภาคสนามและคัดเลือกพื้นที่ไว้จำนวน 7 แห่ง ขั้นตอนที่สาม นำพื้นที่ทั้ง 7 แห่งมาทำการ Weight-Rating เพื่อจัดลำดับพื้นที่ศักยภาพ ขั้นตอนที่สี่ นำพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงสุดมาทำการสำรวจเบื้องต้นด้วยการเจาะหลุมสำรวจความลึก 6 เมตร จำนวน 2 หลุม ขั้นตอนสุดท้ายดำเนินการสำรวจกึ่งรายละเอียดด้วยกรรมวิธีวัดความต้านทานไฟฟ้าของชั้นดินลึก 80-100 เมตร จำนวน 7 จุด และเจาะหลุมทดสอบธรณีเทคนิคลึก 15 เมตร จำนวน 1 หลุม อีกทั้งทำการวัดระดับน้ำจากบ่อน้ำในพื้นที่สำรวจและบริเวณใกล้เคียงจำนวน 12 แห่ง จากเกณฑ์ในการจัดทำสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยของกรมควบคุมมลพิษพบว่า พื้นที่บ้านดงม่วงคำเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับจัดทำเป็นสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยรวม เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งที่มีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ำ (K) เท่ากับ 1.5x10 -5 ซม/วินาที และสามารถรองรับน้ำหนักสูงสุดได้ 47.4 ตัน/ตร.ม. โดยมีระดับน้ำใต้ดินอยู่ลึก 7 เมตร | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to select a common suitable area for the sanitary landfill facility of seven sanitary districts in Mae Sai, Mae Chan and Chiang Saen district of Chiang Rai province using criteria of site selection assigned by Thai and foreign institute guideline. The study has been executed by means of capturing primary and secondary data into geographic information system (GIS) database. The procedure for analysing the common suitable area for waste disposal site can be summarised in five main steps. The first step describes the utilisation of GIS overlay techniques to select twenty-six preliminary potential areas. The second step examines the preliminary potential areas with field investigation; seven of them have been approved. The third step outlines the ranking of the seven preliminary potential areas using weight-rating method while a highest potential area has been monitored by reconnaissance site investigation and two boreholes have been drilled at 6-metre depth in the fourth step. The final step shows semi-detailed site investigation concerning soil resistivity mesurement of seven sites at 80-100-metre depth; one geotechnical borehole has been drilled at 15-metre depth, and twelve groundwater wells in the study area and surrounding land have been observed at the surface level. With regard to the Pollution Control Department guideline it is discovered that Ban Dong Muang Kham is the most suitable area for waste disposal site as it consists of silty clay with 47.4 tons/m2 of bearing capacity and permeability of 1.5x10 -5 cm/sec and 7-metre depth of groundwater level. | en |
dc.format.extent | 813737 bytes | - |
dc.format.extent | 743925 bytes | - |
dc.format.extent | 1055111 bytes | - |
dc.format.extent | 979270 bytes | - |
dc.format.extent | 2165975 bytes | - |
dc.format.extent | 774470 bytes | - |
dc.format.extent | 1826227 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ขยะ | en |
dc.subject | การกำจัดของเสีย | en |
dc.subject | สุขาภิบาล -- ไทย -- เชียงราย | en |
dc.subject | การใช้ที่ดิน -- ไทย -- เชียงราย | en |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | en |
dc.title | การเลือกพื้นที่ฝังกลบและขยะมูลฝอย : กรณีศึกษาสุขาภิบาลในเขตอำเภอแม่สาย แม่จัน และเชียงแสน | en |
dc.title.alternative | Solid waste disposal site selection : a case study of sanitary districts of Mae Sai, Mae Chan and Chiang Saen | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ภูมิศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Dusdi.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Surasak_Bo_front.pdf | 794.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_ch1.pdf | 726.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_ch2.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_ch3.pdf | 956.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_ch4.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_ch5.pdf | 756.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Surasak_Bo_back.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.