Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทุมพร จามรมาน-
dc.contributor.authorสุรีพร ศิริมาลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-10-07T07:36:51Z-
dc.date.available2009-10-07T07:36:51Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746359878-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11473-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractเพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องมือระบุนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2539 จำนวน 1,286 คน ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ประกอบด้วย แบบเติมคำ จำนวน 8 ข้อ แบบเลือกตอบ จำนวน 24 ข้อ แบบอัตนัย จำนวน 3 ข้อ ฉบับที่ 2 เป็นมาตรประมาณค่า จำนวน 24 ข้อ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการวิจัยในแบบสอบแต่ละฉบับ มีดังนี้ ฉบับที่ 1 1.1 แบบเติมคำ มีค่าความเที่ยงแบบสอดคล้องภายในสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ .771 ความตรงเชิงจำแนกระหว่างนักเรียนเก่ง กับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ทดสอบด้วยสถิต t-test พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1.2 แบบเลือกตอบ มีค่าความเที่ยงแบบสอดคล้องภายในสูตร KR-20 เท่ากับ .753 ความตรงเชิงจำแนก ระหว่างนักเรียนเก่ง กับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ทดสอบด้วยสถิติ t-test พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 1.3 แบบอัตนัย มีค่าความเที่ยงแบบสอดคล้องภายในสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ .508 ความตรงเชิงจำแนกระหว่างนักเรียนเก่ง กับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ทดสอบด้วยสถิติ t-test พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ฉบับที่ 2 1.4 มาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงแบบสอดคล้องภายในสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ .898 ความตรงเชิงจำแนกระหว่างนักเรียนเก่ง กับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ทดสอบด้วยสถิติ t-test พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างแบบสอบ มีค่าตั้งแต่ .1942 ถึง .8613 ซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop instruments for identifying gifted in mathematics of prathom suksa six students. The subjects used in this research were 1,286 prathom suksa six students of the academic year 1996 in Bangkok Metropolis. The instruments consisted of 2 sub-tests : the first sub-test consisted of 8 items of completion-type test, 24 items of multiple-choice type test and 3 items of essay-type test and the second sub-test consisted of 20 items of 5 points rating scale. The results were as follows : 1. The first sub-tests : 1.1 The completion-type test indicated the Cronbach's Alpha internal consistency of .771 and the discriminant validity between the gifted group and the above average group was significant at the level of .01. 1.2 The multiple-choice type test indicated the KR-20 internal consistency of .753 and the discriminant validity between the gifted group and the above average group was significant at the level of .01. 1.3 The essay-type test indicated the Cronbach's Alpha internal consistency of .508 and the discriminant validity between the gifted group and the above average group was significant at the level of .01. The second sub-test : 1.4 The rating scale indicated the Cronbach's Alpha internal consistency of .898 and the discriminant validity between to gifted group and the above average group was significant at the level of .01. 2. The correlation coefficients among sub-tests were .1942 to .8613 which showed significantly related at the level of .01.en
dc.format.extent1070804 bytes-
dc.format.extent986160 bytes-
dc.format.extent1630097 bytes-
dc.format.extent1397900 bytes-
dc.format.extent2430063 bytes-
dc.format.extent947955 bytes-
dc.format.extent1138199 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเด็กปัญญาเลิศen
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์ -- แบบทดสอบen
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือระบุเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสาตร์ ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeA development of instruments for identifying gifted in mathematics of prathom suksa six studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorUtumporn.J@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sureeporn_Si_front.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_ch1.pdf963.05 kBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_ch2.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_ch3.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_ch4.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_ch5.pdf925.74 kBAdobe PDFView/Open
Sureeporn_Si_back.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.