Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระชัย ปูรณโชติ | - |
dc.contributor.author | ธนัฎฐา ฉายขุนทด | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-08T08:16:52Z | - |
dc.date.available | 2009-10-08T08:16:52Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746348841 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11479 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาความบกพร่องในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ประยุกต์ 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สายช่างอุตสาหกรรมสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพมหานคร และจำแนกตามระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ช่างอุตสาหกรรมตัวอย่างประชากรเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 สายช่างอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2539 จำนวน 272 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์พิสิกส์ประยุกต์ 1 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง 0.97 ค่าความยาก 0.37 - 0.78 ค่าอำนาจจำแนก 0.26 - 0.72 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความบกพร่องในกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ประยุกต์ 1 เรียงตามลำดับมากที่สุดไปน้อยที่สุด คือ ขั้นตอนที่ 5 การคิดคำนวณหาค่าคำตอบ ขั้นตอนที่ 4 การใช้ข้อมูลในโจทย์ปัญหาแทนปริมาณความสัมพันธ์ทางฟิสิกส์ ที่ไม่ทราบค่า ลงในกฎ หรือทฤษฎีทางฟิสิกส์ ขั้นตอนที่ 6 การระบุหน่วยของคำตอบ ขั้นตอนที่ 3 การใช้ข้อมูลในโจทย์ปัญหาสร้างความสัมพันธ์ของปริมาณทางฟิสิกส์ที่ไม่ทราบค่ากับกฎ หรือทฤษฎีทางฟิสิกส์ เช่น การเขียนสูตรสมการที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ปรากฎการณ์ทางฟิสิกส์ ว่าสิ่งใดที่โจทย์กำหนดให้ และ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปรากฎการณ์ทางฟิสิกส์ว่า สิ่งใดที่โจทย์ต้องการทราบ 2. นักศึกษาส่วนใหญ่ในกลุ่มเก่ง และกลุ่มปานกลางมีความบกพร่องในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ประยุกต์ 1 ไม่แตกต่างกันเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ขั้นตอนที่ 5,4,6,3,2 และ 1 ตามลำดับ ส่วนนักศึกษาส่วนใหญ่ในกลุ่มอ่อนมีความบกพร่องในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ประยุกต์ 1 แตกต่างออกไปโดยพบว่า ลำดับความบกพร่องในขั้นตอนต่าง ๆ เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ขั้นตอนที่ 5,4,6,2,3 และ 1 ตามลำดับ | en |
dc.description.abstractalternative | Investigates applied physics 1 problem solving process deficiencies of technical industry students at diploma level and students who had different industrial science learning achievement. The students were 272 first year industrial arts students of Rajamangala Institute of Technology in Bangkok in the academic year 1996. The research instrument was the problem solving test constructed by the researcher with the reliability of 0.97, the level of diffculty of 0.37 - 0.78 and the power of discriminstion of 0.26 - 0.72. The data were analyzed by means of frequency and percentage. The findings of this study were as follows: 1. Most of the students had problem solving process deficiency in the fifth step, calculation for the answer, followed by the fourth step, substitution of data in physics formula; the sixth step, identification of unit for the answer ; the third step, writing the formula ; the second step, analyzing the problem for what were provided ; and the first step, analyzing the problem for what were desired to know, respectively. 2. Most of the students in the groups with highest and average science learning achievement had not different in problem solving process deficiency in each step. Their most problem solving process deficiency falled in the fifth step, followed by the fourth, the sixth, the third, the second and the first steps, respectively. Most of the students in the lowest science learning achievement group had problem solving process deficiency in the fifth step, followed by the fourth, the sixth, the second, the third, and the first steps, respectively. | en |
dc.format.extent | 1005956 bytes | - |
dc.format.extent | 1141564 bytes | - |
dc.format.extent | 2165253 bytes | - |
dc.format.extent | 1035496 bytes | - |
dc.format.extent | 853737 bytes | - |
dc.format.extent | 1035419 bytes | - |
dc.format.extent | 1280657 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การแก้ปัญหา | en |
dc.subject | ฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | ข้อบกพร่องทางการเรียน | en |
dc.subject | การวินิจฉัยการเรียน | en |
dc.title | การศึกษาความบกพร่องในกระบวนการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์ประยุกต์ 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สายช่างอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | A study of problem solving process deficiencies in applied physics 1 of technical industry students at diploma level, Rajamangala Institute of Technology, Bangkok Metropolis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanutta_Ch_front.pdf | 982.38 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_ch1.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_ch2.pdf | 2.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_ch3.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_ch4.pdf | 833.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_ch5.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tanutta_Ch_back.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.