Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัญ แต้ไพสิฐพงษ์-
dc.contributor.advisorณัฐพร โทณานนท์-
dc.contributor.authorเพียงพิศ วงศ์มณีนิล-
dc.date.accessioned2006-07-27T03:50:04Z-
dc.date.available2006-07-27T03:50:04Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740314171-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1149-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของอุณหภูมิการผสม ขนาดอนุภาคยางใช้แล้ว และอัตราส่วนโดยน้ำหนักของยางใช้แล้วต่อยางมะตอย ที่มีต่อสมบัติด้านความหนืด ความอ่อนตัวไม่เปราะ ความทนแรงกระแทก ความติดแน่น และความทนละอองน้ำเกลือ ของสารเคลือบผิว โดยบดผสมด้วย ball mill ที่อุณหภูมิการผสมที่ 35+-5 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิห้อง) และ 75+-5 องศาเซลเซียส ขนาดอนุภาคยางใช้แล้วที่ 100, 300 และ 600 ไมครอน และอัตราส่วนโดยน้ำหนักของยางใช้แล้วต่อยางมะตอยที่ 0:1, 1:2, 1:1, 2:1 และ 1:0 ผลการทดลองพบว่าอุณหภูมิการผสม ขนาดอนุภาคยางใช้แล้ว และอัตราส่วนโดยน้ำหนักของยางใช้แล้วต่อยางมะตอย มีอิทธิพลร่วมกันต่อสมบัติของสารเคลือบผิวที่ผลิตจากยางใช้แล้ว โดยรวมพบว่า เมื่ออุณหภูมิการผสมสูงขึ้น สารเคลือบผิวมีความหนืด ความติดแน่น และความทนละอองน้ำเกลือเพิ่มสูงขึ้นด้วย แต่เมื่อขนาดอนุภาคยางใช้แล้วและอัตราส่วนโดยน้ำหนักของยางใช้แล้วต่อยางมะตอยเพิ่มขึ้น สารเคลือบผิวมีความหนืดมากขึ้น แต่ความติดแน่น และความทนละอองน้ำเกลือต่ำลง ส่วนความอ่อนตัวไม่เปราะและความทนแรงกระแทกของสารเคลือบผิว ไม่ขึ้นกับอุณหภูมิการผสม ขนาดอนุภาคยางใช้แล้ว และอัตราส่วนโดยน้ำหนักของยางใช้แล้วต่อยางมะตอย ในช่วงที่ใช้ในการทดลองนี้en
dc.description.abstractalternativeThe experiments were conducted to study the effects of mixing temperature, rubber waste particle size, and rubber waste-to-asphalt ratio on viscosity, flexibility, impact strength, adhesion and salt spray resistance properties of the coating. All materials were mixed by stainless steel ball mill at mixing temperatures of 35+-5 ํC (room temperature) and 75+-5 ํC. The rubber waste particle size of 100, 300 and 600 micron and rubber waste-to-asphalt ratio at 0:0, 1:2, 1:1, 2:1 and 1:0 were used. The results showed that the properties of coating made from rubber waste depended on the mixing temperature, rubber waste particle size, and rubber waste-to-asphalt ratio. When the mixing temperature was increased, the viscosity, adhesion and salt spray resistance of coating were increased. However, the viscosity was increased but the adhesion and salt spray resistance were decreased when the rubber waste particle size and rubber waste-to-asphalt ratio were increased. Lastly, under the conditions used in this work, flexibility and impact strength of coating did not show any dependency on the mixing temperature, rubber waste particle size, and rubber waste-to-asphalt ratio.en
dc.format.extent8197939 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแอสฟัลต์en
dc.subjectรถยนต์ -- ยางen
dc.titleผลของอุณหภูมิการผสม ขนาดอนุภาคยางใช้แล้วและอัตราส่วนของยางใช้แล้วต่อยางมะตอยที่มีต่อสมบัติของสารเคลือบผิวที่ผลิตจากยางใช้แล้วen
dc.title.alternativeEffects of mixing temperature, rubber waste particle size, and rubber waste-to-asphal ratio on the properties of coating made from rubber wasteen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorvarun.t@chula.ac.th-
dc.email.advisornattaporn.t@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
peangpit.pdf5.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.