Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกัญญา สุดบรรทัด-
dc.contributor.authorพารนี ปัทมานันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-10-19T02:34:06Z-
dc.date.available2009-10-19T02:34:06Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740302955-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11515-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาประเด็นข่าวกรณีโคบอลต์ 60 ของหนังสือพิมพ์ รวมถึงการรับรู้และปฏิกิริยาตื่นตระหนกของประชาชน ที่ออกมาต่อต้านการเผาศพผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรังสี งานวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาข่าวช่วงแรกของเหตุการณ์ ไปจนกระทั่งเกิดเหตุต่อต้านการเผาศพของหนังสือพิมพ์ 3 ชื่อฉบับ และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้แทนจากหนังสือพิมพ์ ระดับหัวหน้าข่าวและผู้สื่อข่าว 3 ชื่อฉบับ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ 3 คน ผู้รับสารที่อยู่ในภาวะความเสี่ยง 4 คน นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และนักหนังสือพิมพ์ รวม 9 คน ผลการวิจัยพบว่า ข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่นำมาศึกษาไม่เข้าข่ายความจริงที่รอบด้าน เน้นแต่ปัญหาผลกระทบและความรุนแรง ส่วนประเด็นสำคัญอื่นๆ นับตั้งแต่แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันไม่ให้ปัญหาเกิดขึ้นซ้ำอีก เหตุผลที่ไม่ต้องหวาดกลัวภัยจากศพนั้นพบแต่น้อยมาก ปัจจัยยที่ทำให้หนังสือพิมพ์ไม่สามารถทำหน้าที่เสนอความจริงที่รอบด้านได้ประกอบด้วย ความไม่รู้จริงของหนังสือพิมพ์และการเข้าถึงข้อเท็จจริงที่เป็นไปอย่างยากลำบาก สำหรับการรับรู้และปฏิกิริยาตื่นตระหนกของประชาชนพบว่าทั้งสามชุมชน รับรู้ข่าวประเด็นปัญหาผลกระทบและความรุแรงจากสื่อมวลชนทุกแขนง ประชาชนมีทัศนคติในแง่ลบถึงขั้นหวาดกลัวเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโคบอลต์ 60 ไม่มีความเชื่อถือในหน่วยงานรัฐ ให้ความสำคัญกับข้อมูลจากสื่อมวลชนมาก จึงเกิดความตื่นตระหนกกระทั่งออกมารวมตัวกันต่อต้านการเผาศพ ในประเด็นมุมมองทางจริยธรรมในการทำหน้าที่ของหนังสือพิมพ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ นักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และนักหนังสือพิมพ์ เป็นร่วมกันว่า ควรให้ความสำคัญกับการให้ข้อมูลที่เป็นความจริงรอบด้านมากขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่สังคมen
dc.description.abstractalternativeTo study the theme of newspaper coverage of the cobalt 60 case and the awareness and panic of the public which led to protests against the cremation of victims who died in the cobalt leakage incident. This research analyzed the content of news reported, right from the beginning of the incident until the protests against the cremation was reported in the three newspapers, namely Thairath, Daily News and Khao Sod. It also interviewed experts in the field of science, representatives from the risk group who obtained information from newspapers and academics in the field of mass communication, state officials and newsmen. The research found that the news reports did not cover all dimensions of truth and emphasized only on problems of the effects of the cobalt leakage and the violence involved. Important issues like methods to prevent such problems from occurring again, or reasons not to fear dangers from the corpse had very little mention. The main point which obstructed newspapers from carrying out their duties in reporting all sides of true information includes ignorance on the part of newspapers and difficulty in accessing factual information. People from all three communities interviewed had a negative attitude towards the cobalt 60 case because of influence of the information obtained by the media and lack of knowledge on the subject. They did not trust state authorities and gave much importance to the information obtained from the media, which led to fear, panic and protest against the funeral of the victims. Experts in the field of science and mass communications agreed with concerned state officials and newsmen that more importance should be paid to providing true information to the public in order to bring about better understanding and knowledge.en
dc.format.extent1869217 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.416-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหนังสือพิมพ์en
dc.subjectข่าวหนังสือพิมพ์en
dc.subjectจรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์en
dc.subjectผู้รับสารen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectความตื่นตระหนกen
dc.titleการเสนอข่าวของหนังสือพิมพ์กับการรับรู้และปฏิกิริยาตื่นตระหนกของผู้รับสาร ที่อยู่ในภาวะความเสี่ยงกรณีโคบอลต์ 60en
dc.title.alternativeNews coverage of daily newspapers and the perception and panic of the audiences under risk in the case of cobolt 60en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSukanya.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.416-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
paranee.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.