Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ | - |
dc.contributor.author | ชูพงษ์ ชลพนารักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-10-26T02:37:19Z | - |
dc.date.available | 2009-10-26T02:37:19Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741738374 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11554 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | นำเสนอการวิเคราะห์วิธีการควบคุมความคับคั่งโครงข่าย TCP/IP ผ่านดาวเทียม โดยการวิเคราะห์แยกทีละส่วน ในส่วนแรกช่วงเริ่มต้นการเชื่อมโยงระบบจะใช้ Dummy Segments ทำให้เพิ่มขนาดการส่งอย่างรวดเร็ว ส่วนที่สองเป็นช่วงที่หลังจากการเชื่อมโยงระบบแล้ว จะเป็นช่วงหลีกเลี่ยงการเกิดความคับคั่ง จะใช้วิธีการส่งสัญญาณสถานะความคับคั่งของระบบ ทำให้เครื่องส่งและเครื่องรับรับรู้สถานะความคับคั่งของระบบ เพื่อที่สามารถปรับอัตราและขนาดการส่ง ทำให้ลดความคับคั่ง ความผิดพลาดในการเชื่อมโยงระบบและอัตราข้อมูลสูญหาย ในส่วนที่สามเป็นการแก้ปัญหาเมื่อมีข้อมูลสูญหาย ทำให้มีการส่งข้อมูลเดิมอีกครั้งและใช้ Dummy Segments ทำให้เพิ่มขนาดการส่งอย่างรวดเร็ว ทำให้หลีกเลี่ยงการเชื่อมโยงระบบใหม่อีกครั้ง อัลกอริทึมที่ใช้เรียกว่า TCP-Peach# ประกอบด้วย Sudden Start อัลกอริทึม Congestion Avoidance อัลกอริทึม และ Fast Retransmit & Rapid Recovery อัลกอริทึม โดยจะนำไปใช้กับการจำลองระบบการโดยใช้เครื่องส่งและเครื่องรับอย่างละ 10 เครื่องส่งผ่านดาวเทียม โดยที่มีช่วงเวลาไปกลับแตกต่างกัน จากแบบจำลองผลการทดลองจะพบว่าในช่วงการเริ่มต้นเชื่อมโยงระบบ เมื่อใช้ Sudden Start อัลกอริทึมจะทำให้เวลาที่ขนาด Congestion Window เพิ่มขึ้นจนถึงค่าสูงสุดใช้เวลาลดลงประมาณ 3-4 เท่า และในช่วง Congestion Avoidance จะสามารถลดเวลาหน่วงประมาณ 2 เท่า | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis proposes analysis method for congestion control via satellite networks and separate in three parts. Firstly we apply dummy segments to boost sending rate. Secondly we apply multi level explicit congestion notification in order to send signal to the source about congestion situation and adjust traffic rate. Finally we apply dummy segments when packet loss detected by three duplicate acknowledge segments then retransmit. All algorithms called TCP-Peach# contains the following algorithms : Sudden Start, Congestion Avoidance, Fast Retransmit and Rapid Recovery algorithms apply with ten sources and ten receivers simulation configuration model via satellite networks in difference round trip times. Simulation results show that congestion window in Sudden Start algorithm can reach maximum congestion window faster than TCP-Reno about 3-4 times and Congestion Avoidance phase can reduce twice delay times. | en |
dc.format.extent | 3257569 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ดาวเทียมในโทรคมนาคม | en |
dc.subject | ทีซีพี/ไอพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์) | en |
dc.title | การวิเคราะห์วิธีควบคุมความคับคั่งสำหรับโครงข่าย TCP/IP ผ่านดาวเทียม | en |
dc.title.alternative | Analysis of congestion control scheme for satellite TCP/IP networks | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Prasit.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Choopong.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.