Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ ชิวชรัตน์-
dc.contributor.advisorสุนทรา พันธ์มีเกียรติ-
dc.contributor.authorดวงกมล อัชทวีวรรณ, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-05-29T02:50:57Z-
dc.date.available2006-05-29T02:50:57Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741740646-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/115-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคิดค้นวิธีการถ่ายทอดรูปร่างของหัวคอนดายล์จากภาพรังสีพานอรามิก มายังภาพรังสีเซฟาโลเมตริกด้านข้างและทดสอบความถูกต้องของวิธีการที่คิดค้นได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาภาพหัวคอนดายล์ที่มองเห็นไม่ชัดเจนในภาพรังสีเซฟา-โลเมตริกด้านข้าง ทำให้การวิเคราะห์ภาพรังสีที่เกี่ยวข้องกับจุดสังเกตทางกายวิภาคบนหัวคอนดายล์ไม่สามารถกระทำได้อย่างแม่นยำ หรือมีความจำเป็นต้องถ่ายภาพรังสีเพิ่มเติม วิธีการถ่ายทอดภาพหัวคอนดายล์ที่คิดค้นขึ้นนี้อาศัยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงซ้อนจากตัวอย่างจำนวน 100 คน เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างภาพรังสีทั้งสอง โดยนำตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปรได้แก่ ระยะระหว่างหัวคอนดายล์ ระยะระหว่างมุมขากรรไกรล่าง ระยะฟันหน้าล่างแนวดิ่งถึงโกนีออน มุมโกเนียล และ ความสูงเรมัส มาใช้ในการทำนายค่าระยะปรับแนวดิ่งสำหรับการถ่ายทอดภาพหัวคอนดายล์ สมการที่ได้คือ ระยะปรับแนวดิ่ง = -17.793 + 0.239ความสูงเรมัส + 0.0784 มุมโกเนียล ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจร้อยละ 67.9 เมื่อทดสอบความถูกต้องของสมการโดยใช้ตัวอย่างจำนวน 50 คน พบว่าระยะปรับแนวดิ่งที่ได้จากสมการและจากการซ้อนทับภาพหัวคอนดายล์ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 มีส่วนต่างไม่เกิน 0.5 มิลลิเมตร ร้อยละ 60 และเมื่อคำนวณด้วยสูตรของดาห์ลเบิร์กพบว่ามีความผิดพลาดมาตรฐานจากการหาค่าระยะปรับแนวดิ่งด้วยการแทนค่าจากสมการคิดเป็น 0.64 มิลลิเมตร และสามารถลอกลายภาพหัวคอนดายล์ตั้งแต่จุดสูงสุดมายังขอบหลังเรมัสซึ่งอยู่ต่ำกว่าจุดอาร์ติคูลาเรย์ 1 เซนติเมตร จากภาพรังสีพานอรามิกมายังภาพรังสีเซฟาโลเมตริกด้านข้างได้ร้อยละ 76en
dc.description.abstractalternativeSince the condylar head images in the cephalometric radiographs are frequently unclear and hard to identify, the cephalometric analysis involving anatomical landmarks on these obscured structures are usually in doubt of accuracy, sometimes the additional radiographs are needed. The aim of this study is to invent a method that can transfer condylar head image from panoramic to lateral cephalometric radiographs, and also assess the accuracy of the method invented. Regression analysis was performed to generate an equation relating cephalometric and panoramic radiographs from 100 patients. Five variables were used to build the model, namely, intercondylar distance, inter-angle of the mandible distance, lower incisor (vertical) to gonion distance, gonial angle and ramus height. The predicting variable was the vertical adjustment value in image transfering method. The equation was vertical adjustment value = -17.739 + 0.239ramus height + 0.0784gonial angle, of which the adjusted R square was 67.9. The model accuracy was tested by using cephalometric and panoramic radiographs from another 50 patients. Both of the vertical adjustment values from the equation and image transfering method were not statistically different (p is less than or equal to.05). 60% of the patients showed the differences not exceeding 0.5 mm. The standard error calculated from Dahlberg's formula was 0.64 mm. In addition, 76% of the patients had the identical outline of the condylar head from the most superior point to posterior ramus at 1 cm. below the articulare from both radiographs.en
dc.format.extent1681125 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1099-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทันตกรรมจัดฟันen
dc.subjectคอนดายล์en
dc.subjectรังสีเซฟาโลเมตริกen
dc.subjectรังสีพานอรามิกen
dc.titleวิธีการถ่ายภาพหัวคอนดายล์จากภาพรังสีพานอรามิก มาสู่ภาพรังสีเซฟาโลเมตริกด้านข้างen
dc.title.alternativeA method to transfer condylar head image from panoramic to lateral cephalometric radiographen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineทันตกรรมจัดฟันen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPorntip.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1099-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Duangkamon.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.