Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorทิพยาภรณ์ หันกิตติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-11-10T02:02:21Z-
dc.date.available2009-11-10T02:02:21Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740309526-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11653-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมผลิตสายไฟฟ้า เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งในประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบจากสภาวะปัญหาทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกต่างประเทศ ที่เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ สามารถแข่งขันกับคู่แข่งจากประเทศอื่น ๆ ในตลาดสหรัฐอเมริกา จึงจำเป็นจะต้องมีการวิเคราะห์และแก้ไขความสูญเสียที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ปัญหาของโรงงานตัวอย่างพบว่า ความสูญเสีย ซึ่งอยู่ในรูปของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตมีสาเหตุเนื่องจากคนงาน เช่นพนักงานได้รับการฝึกอบรมไม่เหมาะสม และเพียงพอ เครื่องจักรและอุปกรณ์ เช่น ยังมีอุปกรณ์ในการทำงานบางอย่างไม่ครบถ้วน วิธีการดำเนินงาน เช่น เอกสารประกอบการทำงานยังไม่ชัดเจน รวมถึง การจัดลำดับงานในการผลิตยังไม่ดีเพียงพอ และปัญหาความชื้นของวัตถุดิบคือ PVC วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงมุ่งเน้นที่ความสูญเสียหรือของเสียในส่วนวัตถุดิบ และลดเวลาในการดำเนินการผลิต โดยการดำเนินการลดความสูญเสีย โดยใช้เทคนิค การฝึก อบรม การจัดลำดับงาน การจัดทำเอกสารในการปฏิบัติงาน ,การเสนอให้มีการผลิตในปริมาณการผลิตขั้นต่ำสุด ตลอดจนจัดทำโปรแกรมสารสนเทศ สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลของเสียวัตถุดิบ และ ประสิทธิภาพของการผลิตในแต่ละเครื่องจักร จากการปรับปรุงการดำเนินงานตามขั้นตอนการวิจัย เปอร์เซนต์ของเสีย (Scrap) เปรียบเทียบก่อนและหลังปรับปรุง พบว่าสำหรับผลิตภัณฑ์ส่งออกต่างประเทศ ในส่วนของ ทองแดง พลาสติก (PVC) และ ไนลอน (Nylon) ลดลงจาก 10.86% 12.24% และ 12.52 %เป็น 7.72% 9.29% และ 9.87% ตามลำดับ รวมถึงลดเวลาในการผลิตในส่วนขบวนการหุ้มได้ 20% เป็นผลทำให้ต้นทุนวัตถุดิบสำหรับสายไฟฟ้าต่างประเทศ สำหรับสายเบอร์ 12 AWG 3/0 AWG และ 500 MCM ลดลงจาก 68.37 1240.55 และ 3239.84 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลเมตร (US$/km) เป็น 67.55 1225.57 และ 3207.23 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลเมตร (US$/km) โดยต้นทุนลดลง 1.2% 1.21% และ 1% ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeElectrical Wire industry is one of many industries in Thailand which are affected from economic crisis Therefore, it is essential to analysis and reduce loss in production. According to problem analysis method of sample industry .It found that loss or scrap on production are dued by man (e.g., inappropriate training ),machine (e.g., inappropriate equipment) ,method (e.g.,such as no working process and unsuitable production scheduling) and material (e.g. humidity problem of PVC). The purpose of this study is to reduce scrap of raw material and production time. Techniques used for reduction loss is training, scheduling ,processing work instruction ,manufacturing at minimum run and creating system to analysis scrap of raw material and machine running efficiency. As can be seen from the study, it revealed that the scrap percentage of Copper, PVC and Nylon for export product were reduced from 10.86%, 12.24% and 12.52% to 7.72% , 9.29% and 9.87%. Moreover production time in insulation process were increased 20%. Material cost for 12 AWG, 3/0 AWG and 500 MCM were reduced from 68.37,1240.55 and 3239.84 US$/km to 67.55,1225.57 and 3207.23 US$/km or the reduction of 1.2 %,1.21 % and 1% respectively.en
dc.format.extent2328634 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสายไฟฟ้า -- การผลิตen
dc.subjectอุตสาหกรรมการผลิตen
dc.titleการลดความสูญเสียในอุตสาหกรรมผลิตสายไฟฟ้าen
dc.title.alternativeLoss reduction for electrical wire industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tippayaporn.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.