Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11803
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อิทธิพล เดี่ยววณิชย์ | - |
dc.contributor.advisor | อูเมดา, ทาเกเทรุ | - |
dc.contributor.author | อุษณีย์ กิตกำธร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-12-09T06:17:21Z | - |
dc.date.available | 2009-12-09T06:17:21Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9740302408 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11803 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาและประเมินผลของการผลิตวัสดุเชิงประกอบขั้นต้น ระหว่างโลหะผสมอะลูมิเนียม-ลิเทียมเกรด AA8090 กับอนุภาคซิลิคอนคาร์ไบด์ 0 10 และ 20 เปอร์เซนต์โดยปริมาตร ด้วยกระบวนการมิลลิงทางกลและสปาร์กพลาสมาซินเทอริง ผงโลหะผสมอะลูมิเนียม-ลิเทียมและซิลิคอนคาร์ไบด์ที่เตรียมจากกระบวนการมิ ลลิงทางกล ถูกนำมาอัดและซินเทอร์เป็นชิ้นงานทรงกระบอก ด้วยกระบวนการสปาร์กพลาสมาซินเทอริงที่อุณหภูมิต่างๆ ในช่วง 663 ถึง 803 K และที่ความดัน 62.46 87.44 และ 112.42 MPa. ผลการทดลองพบว่า ผงวัสดุเชิงประกอบที่ผ่านการมิลลิงทางกลสะสมพลังงานภายในไว้มาก อันเป็นผลจากการเปลี่ยนรูปแบบพลาสติกที่อุณหภูมิต่ำระหว่างการมิลลิงทางกล และพบว่าซิลิคอนคาร์ไบด์กระจายตัวเข้าไปในโลหะผสมได้มากขึ้น เมื่อเวลาในการมิลลิงทางกลเพิ่มขึ้นเป็น 120 นาที ส่วนความหนาแน่นของชิ้นงานจากกระบวนการสปาร์กพลาสมาซินเทอริง มีค่าใกล้เคียงกับความหนาแน่นทางทฤษฎีในขณะที่คุณสมบัติเชิงกล ได้แก่ มอดุลัสอิลาสติกและความเค้นจุดครากมีค่าใกล้เคียงกับวัสดุเชิงประกอบ ที่ได้จากกระบวนการอัดร้อนและกระบวนการอัดร้อนแบบทุกทิศทางโดยที่ใช้เวลา อุณหภูมิและความดันในการผลิตต่ำกว่า ส่วนพฤติกรรมการเปลี่ยนรูปของวัสดุเชิงประกอบพบว่า ช่วงแรกเกิดการเปลี่ยนรูปแบบอิลาสติกและต่อมาเกิดการเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก โดยที่ความแข็งแรงของวัสดุเพิ่มขึ้นสูงมากตามความเครียดที่เพิ่มขึ้น หลังจากนั้นวัสดุเชิงประกอบเกิดการเปลี่ยนรูปต่อไปด้วยความเค้นคงที่หรือลด ลง เนื่องจากการสูญเสียพันธะยึดเหนี่ยวระหว่างซิลิคอนคาร์ไบด์กับโลหะพื้นและพบ การเกิด dynamic recovery ร่วมด้วย | en |
dc.description.abstractalternative | Feasibility of spark plasma sintering to fabricate composites perform for subsequent secondary processes was evaluated. Al-Li/SiC[subscript p] composite preforms were fabricated from mixture of aluminum alloy powder and silicon carbide using spark plasma sintering technique. The powder mixture, with up to 20 vol. % reinforcement, was prepared from AA8090 alloy powder and silicon carbide particulate using mechanical milling technique. Thermal analysis and electron microscope analysis were performed to determine the thermo-physical properties and morphology of mechanically milled powder. Cylinder-shaped specimens were sintered from powder mixture at various temperatures ranging from 663 to 803 K and at pressures ranging from 62 to 112 MPa. Densities of sintered specimens were measured using Archimedean technique while mechanical properties were characterized by compression test. Results indicated that high amount of elastic strain energy was stored in the composites powder and silicon carbide particulates were dispersed uniformly into Al-Li matrix after mechanical milling. Complete consolidation was attained by this technique while elastic modulii and yield stresses were comparable to those of the preforms fabricated by hot pressing or hot-isostatic pressing technique. Processing time was much shorter with implications of lowered sintering temperature and pressure with this technique. Deformation behavior of unreinforced alloy and composites consists of (1) elastic deformation, (2) plastic deformation with high strain-hardening rate, and (3) quasi steady state deformation or strain softening due to debonding of matrix/reinforcement interface and dynamic recovery. | en |
dc.format.extent | 2745660 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | วัสดุเชิงประกอบ | en |
dc.subject | โลหะผสมอะลูมินัม-ลิเธียม | en |
dc.subject | ซิลิกอนคาร์ไบด์ | en |
dc.subject | อัลลอยเชิงกล | en |
dc.subject | ซินเทอริง | en |
dc.title | คุณลักษณะของโลหะผสมอะลูมิเนียม-ลิเทียม เสริมแรงด้วยซิลิคอนคาร์ไบด์ ซึ่งผลิตโดยกระบวนการมิลลิงทางกลและสปาร์กพลาสมาซินเทอริง | en |
dc.title.alternative | Characterization of aluminum-lithium alloy reinforced with silicon carbide processed via mechanical milling and spark plasma sintering | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโลหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Ittipon.D@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Takateru.U@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
UsaneeKit.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.