Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาทิตย์ ทองทักษ์-
dc.contributor.authorวิฑูรย์ จันทรเศรษฐเลิศ, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-28T11:58:09Z-
dc.date.available2006-07-28T11:58:09Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740308236-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1183-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการทวนสอบวงจรเป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องตรงกันระหว่างคุณลักษณะของวงจรที่ได้ออกแบบไว้กับวงจรที่ได้จากการสังเคราะห์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการออกแบบ และพัฒนาขั้นตอนวิธีการทวนสอบวงจรอสมวารแบบควอไซดีเลย์อินเซนซิทีฟโดยพีชคณิตเชิงกระบวนการ ขั้นตอนวิธีการทวนสอบวงจรอสมวารที่นำเสนอในงานวิจัยฉบับนี้เป็นการทวนสอบอย่างมีแบบแผนแบบตรวจสอบแบบจำลองโดยใช้เครื่องจักรสถานะจำกัด ซึ่งทั้งในส่วนของคุณลักษณะของวงจรที่ได้ออกแบบไว้ และวงจรที่ได้จากการสังเคราะห์จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของเครื่องจักรสถานะจำกัดโดยใช้กราฟสถานะ และเทคนิคของพีชคณิตเชิงกระบวนการ โดยที่ในขั้นตอนการสร้างเครื่องจักรสถานะจำกัดของวงจรที่ได้จากการสังเคราะห์ยังได้คำนึงถึงโมเดลสิ่งแวดล้อมที่ได้จากคุณลักษณะของวงจรเพื่อเป็นตัวควบคุมการเกิดการเปลี่ยนแปลงสัญญาณอินพุตของวงจรที่ได้จากสังเคราะห์ จากนั้นจะทำการทวนสอบด้วยการเปรียบเทียบว่าวงจรที่ได้จากการสังเคราะห์มีพฤติกรรมถูกต้องตรงตามคุณลักษณะของวงจรที่ได้ออกแบบไว้หรือไม่โดยใช้วิธีการค้นหาแบบกว้าง จากผลการทดลองกับวงจรเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะแสดงให้เห็นว่าขั้นตอนวิธีการทวนสอบมีประสิทธิภาพ 93.10% สามารถทวนสอบวงจรได้ 27 วงจรจากทั้งหมด 29 วงจรen
dc.description.abstractalternativeThe circuit verification is a process to assure the correctness between the implemented circuit and its specification. This thesis proposes a design and development of verification process for quasi-delay-insensitive (QDI) asynchronous circuits by process algebra. Our approach is the model checking by finite state machine (FSM) in formal verification method. Both of the specification and implementation will be used to create a finite state machine by using state graph and process algbra technique. In the process of creating finite state machine of implemented circuit, we also consider the environment model got from specification to control input signal transition of implemented circuit. Then the behavior of the resulting implementation will be compared to its specification by using the breadth-first search method. Experimensts on the benchmark circuits show that verification process had efficiency 93.10% and can verify 27 circuits from 29 circuits.en
dc.format.extent785899 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวงจรอะซิงโครนัสen
dc.subjectการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์en
dc.titleการทวนสอบวงจรอสมวารแบบควอไซดีเลย์อินเซนซิทีฟคณิตเชิงกระบวนการen
dc.title.alternativeA verification of quasi-delay-insensitive asynchronous circuits by the process algebraen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorarthit@cp.eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
vitoon.pdf897.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.