Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1187
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นเรศร์ จันทน์ขาว | - |
dc.contributor.author | จเด็จ เย็นใจ, 2519- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-28T12:24:11Z | - |
dc.date.available | 2006-07-28T12:24:11Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741700865 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1187 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | การพัฒนาระบบวิเคราะห์ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศ ด้วยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ได้แบ่งการพัฒนาออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ ระบบวิเคราะห์ปริมาณกำมะถันบนกระดาษกรอง ด้วยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ ระบบ EDX กับหัววัดพรอพอร์ชันแนล โดยใช้เหล็ก-55 เป็นต้นกำเนิดรังสี และระบบดักจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ โดยใช้สารละลายโซเดียมคาร์บอเนตที่มีความเข้มข้น 10% โดยน้ำหนักเป็นตัวดักจับ ระบบวิเคราะห์ปริมาณกำมะถันบนกระดาษกรองที่ได้พัฒนาขึ้น สามารถลดการรบกวนจากรังสีเอกซ์เฉพาะตัวของอาร์กอนในอากาศได้ โดยใช้ระยะทางระหว่างหัววัดรังสีกับแผ่นกระดาษกรองที่เหมาะสม และการหาช่วงพีคที่เหมาะสม ซึ่งขีดจำกัดในการวิเคราะห์ของระบบเท่ากับ 9.33 ไมโครกรัมสำหรับเวลาวัดรังสี 3600 วินาที ส่วนระบบดักจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพในการดักจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ประมาณ 95% นอกจากนี้ยังทดลองใช้อุปกรณ์ควบแน่นด้วยไนโตรเจนเหลว ช่วยในการดักจับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ด้วย แต่ไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการดักจับได้ | en |
dc.description.abstractalternative | The developed system for determining sulphur dioxide in air was divided into 2 subsystems i.e. the XRF sulfur analyzer and the sulphur dioxide sampler. The XRF analyzer consisted of a krypton-filled proportional detector, an 55 Fe exciting source and a digital spectrum analyzer (DSA). The sulphur dioxide sampling unit consisted of an air sampler and 200 ml 10% sodium carbonate solution contained in a glass tube for reacting with sulphur dioxide in the incoming air. The interferences of argon x-rays from argon gas in the air and of the scattered x-rays were minimized by selecting the optimum source position and the detector-to-specimen distance as well as the region of interest. The lower limit of detection of sulphur absorbed on a filter paper was found to be 9.33 micrograms for 3600 second counting time. The absorption efficiency of the sulphur dioxide sampler was found to be approximately 95%. Moreover, the sulphur dioxide absorption was also carried out by an additional liquid nitrogen cooling unit but the absorption efficiency could not be improved. | en |
dc.format.extent | 9919716 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ | en |
dc.subject | การเรืองรังสีเอกซ์ | en |
dc.title | การพัฒนาระบบวิเคราะห์ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอากาศ โดยใช้เทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ | en |
dc.title.alternative | Development of an analysis system for determining sulphur dioxide in air using the X-ray fluorescence technique | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิวเคลียร์เทคโนโลยี | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chadet.pdf | 3.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.