Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประศักดิ์ หอมสนิท-
dc.contributor.authorชุติมา พรหมรักษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-01-28T01:26:01Z-
dc.date.available2010-01-28T01:26:01Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743333762-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11961-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractศึกษาเปรียบเทียบความคงทนในการจำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่มีตำแหน่งของการเสนอกรอบมโนทัศน์ต่างกัน ตำแหน่งของการเสนอกรอบมโนทัศน์ที่ศึกษา 2 แบบ คือ ก่อนบทเรียน และหลังบทเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง มีจำนวน 54 คน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินของโรงเรียนเศรษฐเสถียร และโรงเรียนโสตศึกษานนทบุรี การทดลองกระทำในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2542 กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มอย่างง่าย เพื่อเข้ากลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆ ละ 27 คน กลุ่มทดลองที่ 1 เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีตำแหน่งของการเสนอกรอบมโนทัศน์ก่อนบทเรียน และกลุ่มทดลองที่ 2 เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีตำแหน่งของการเสนอกรอบมโนทัศน์หลังจบบทเรียน วิเคราะห์ความแตกต่างของความคงทนในการจำด้วยการทดสอบค่าที แบบอิสระที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ในการทดสอบ 2 หาง ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีตำแหน่งการเสนอกรอบมโนทัศน์ต่างกัน มีความคงทนในการจำแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีตำแหน่งการเสนอกรอบมโนทัศน์ก่อนเรียน มีคะแนนความคงทนในการจำสูงกว่านักเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีตำแหน่งการเสนอกรอบมโนทัศน์หลังเรียนen
dc.description.abstractalternativeTo compare retention of mathayom suksa two hearing impaired students learning from computer-assisted instruction lessons on science subject with different presentation positions of concept maps, prior and after lesson. Subjects employed in this study were 54 mathayom suksa two hearing-impaired students. The subjects were purposive random sampled from Sethsathean School and Sothsuksa Nonthaburi School. The experiment was conducted in the first semester of 1999 academic year. The subjects were simple randomly assigned into two experimental groups with 27 students in each group. The first experimental group studied computer-assisted instruction lessons presenting concept maps prior lessons and the second experimental group studied computer-assisted instruction lessons presenting concept maps after lessons. Obtained data were analyzed statistically by t-test independent tested significant differences in retention of the two groups. The study utilized the .05 level of confidence, for a two-tailed test. Findings of this study showed a significant difference was found between the two experimental groups. Students studied computer-assisted instruction lessons presenting concept maps prior lessons scored significantly higher on retention than those studied computer-assisted instruction lessons presenting concept maps after lessons.en
dc.format.extent802884 bytes-
dc.format.extent838628 bytes-
dc.format.extent1935159 bytes-
dc.format.extent745682 bytes-
dc.format.extent716535 bytes-
dc.format.extent780178 bytes-
dc.format.extent1216253 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.426-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความบกพร่องทางการได้ยินen
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินen
dc.subjectความจำen
dc.subjectความคิดรวบยอดen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.titleการเปรียบเทียบความคงทนในการจำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่มีการเสนอกรอบมโนทัศน์ในตำแหน่งที่ต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of retention of mathayom suksa two hearing impaired students learning from computer-assisted instruction lessons on science subject with different presentation positions of concept mapsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrasak.h@car.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.426-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutima_Pr_front.pdf784.07 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_ch1.pdf818.97 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_ch2.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_ch3.pdf728.21 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_ch4.pdf699.74 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_ch5.pdf761.89 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_Pr_back.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.