Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเหรียญ บุญดีสกุลโชค-
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ ตั้งวิวัฒน์วงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-01-28T02:06:53Z-
dc.date.available2010-01-28T02:06:53Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743338535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11967-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractจัดทำระบบรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษากิจกรรมของคลังพัสดุ โดยแนวทางในการออกแบบระบบรวบรวมข้อมูล จะเริ่มต้นที่การศึกษาของระบบงานคลังพัสดุซึ่งได้แก่ กิจกรรมการรับพัสดุ การระบุประเภทของพัสดุ การเคลื่อนย้ายพัสดุไปยังที่จัดเก็บ การจัดเก็บพัสดุ การหยิบพัสดุตามใบสั่ง การบรรจุหีบห่อ การกองพัสดุ การนำพัสดุขึ้นพาหนะและจัดส่งออกจากคลัง การตรวจนับพัสดุ และการรายงาน ขั้นตอนต่อไปคือการกำหนดวัตถุประสงค์ของระบบคลังพัสดุ จากนั้นจึงคัดเลือกเกณฑ์การวัดผลการปฏิบัติงานที่มีอยู่แล้วโดยได้แก่ ระยะเวลาการทำงานเฉลี่ยของแต่ละกิจกรรม ระยะเวลาในการนำพัสดุออกมาจากที่จัดเก็บ/picking note หรือจำนวนพัสดุที่นำออกมาทั้งหมด storage space utilization, aisle space percentage, vertical space effectiveness ระยะทางการเคลื่อนที่เฉลี่ยในแต่ละกิจกรรม ระยะทางการหยิบพัสดุ 1 รอบโดยเฉลี่ย average distance/move ratio, labor efficiency, productivity of order picking operation, order picking efficiency, part picked percentage, quantity picked percentage อัตราส่วนความผิดพลาดในการรับพัสดุ การหยิบพัสดุ การออกเอกสาร-ข้อมูลต่างๆ และการตรวจนับพัสดุ percentage cost of damage ค่าใช้จ่าย/picking note ค่าใช้จ่าย/จำนวนพัสดุที่หยิบ ค่าใช้จ่าย/หน่วยที่จัดเก็บ damage ratio และ handling equipment utilization นำมาประยุกต์ใช้ จากทั้งหมดนี้จะนำไปสู่ผลลัพธ์ หรือคำตอบที่ต้องการในการศึกษากิจกรรมของคลังพัสดุ และจะมองย้อนกลับ (Backward) จากผลลัพธ์หรือคำตอบที่ได้กลับไปเพื่อค้นหาว่า คำตอบเหล่านี้จะได้มาอย่างไร ก็จะทำให้ทราบว่าข้อมูลดิบที่ต้องเก็บรวบรวมมีอะไรบ้าง จากนั้นแบ่งกลุ่มข้อมูลดิบที่ต้องการออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มข้อมูลที่เก็บได้ในครั้งเดียว และกลุ่มข้อมูลที่ต้องเก็บอย่างต่อเนื่อง ในกลุ่มที่สามารถเก็บข้อมูลได้ในครั้งเดียว ก็จะออกแบบคำถามที่จะใช้ในการให้ได้ข้อมูลที่ต้องการมา ซึ่งจะได้เป็นแบบฟอร์มเพื่อรวบรวมข้อมูลทั่วไปของคลังพัสดุ สำหรับกลุ่มข้อมูลที่ต้องเก็บอย่างต่อเนื่อง จะออกแบบตารางที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนำไปประมวลผล ซึ่งจะได้เป็นแบบฟอร์มเพื่อรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานของคลังพัสดุ และแบบฟอร์มเพื่อสรุปข้อมูลการปฏิบัติงานของคลังพัสดุ งานวิจัยนี้ได้นำชุดของแบบฟอร์ม ที่พัฒนาขึ้นมาไปใช้กับคลังพัสดุตัวอย่าง เพื่อทดสอบการใช้งานระบบ โดยแสดงแนวทางการวัดผลการปฏิบัติงานจากข้อมูลที่รวบรวมมา ในเรื่องของระยะเวลาการทำงาน การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ที่มีอยู่ ระยะทางการเคลื่อนที่ในการปฏิบัติงาน ผลิตผลแรงงาน ความถูกต้องในการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน สัดส่วนของเสียที่เกิดจากการปฏิบัติงาน และอรรถประโยชน์เครื่องมือยกขนen
dc.description.abstractalternativeTo develop a data collection system for study warehouse activities i.e. receiving, identification, put away, storage, order picking, packing, staging, loading and shipping, physical inventory and reporting. Warehouse activities were studied to identify the objective of each activity together with the performance assessment criteria, these criteria include average time of each activity, picking time/picking note, picking time/total item picked, storage space utilization, aisle space percentage, vertical space effectiveness, average distance of each activity, average picking tour, average distance/move ratio, labor efficiency, productivity of order picking operation, order picking efficiency, part picked percentage, quantity picked percentage, error in receiving, error in order picking, error in data or document, percentage error in the stock count, percentage cost of damage, cost/picking note, cost/item picked, cost/total inventory, damage ratio and handling equipment utilization. In order to process for this assessment, required raw data were known as two types, one-time-collected raw data and continuously collected data. For the one-time-collected data, the questionnaire forms were developed to study data from general warehouse information. For the other type, forms were designed in table format to collect the activities in the studied warehouse. Data processing method was also develop for this second type of data. Finally the forms, that developed in this study, were applied to an actual warehouse to demonstrate performance assessment for system testing. The assessment included were working period, space utilization, working distance, labor productivity, working accuracy, working cost, lost from working and material handling utilization ratioen
dc.format.extent839555 bytes-
dc.format.extent762641 bytes-
dc.format.extent1372109 bytes-
dc.format.extent1110316 bytes-
dc.format.extent1289791 bytes-
dc.format.extent1053203 bytes-
dc.format.extent2084013 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคลังพัสดุen
dc.titleระบบรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษากิจกรรมของคลังพัสดุen
dc.title.alternativeA data collection system for warehouse activities studyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRein.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chulaluck_Ta_front.pdf819.88 kBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_ch1.pdf744.77 kBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_ch2.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_ch3.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_ch4.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_ch5.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Chulaluck_Ta_back.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.