Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1207
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทยา ยงเจริญ | - |
dc.contributor.author | วชิราภรณ์ หงสวินิตกุล, 2520- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-29T06:04:49Z | - |
dc.date.available | 2006-07-29T06:04:49Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741700571 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1207 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาระบบควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจนด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน เครื่องยนต์ที่ใช้ในการทดสอบเป็นเครื่องยนต์แก๊สโซลีนยี่ห้อ MITSUBISHI รุ่น4G32 B2AW 5841 ตั้งองศาการจุดระเบิดไว้คงที่ที่ศูนย์ตายบน จากผลการทดสอบเครื่องยนต์ไฮโดรเจนบนแท่นทดสอบ ความเร็วรอบเปลี่ยนแปลงในช่วง 2000-3200 รอบต่อนาที ที่ตำแหน่งปีกฝีเสื้อ 50%, 75% และ 100% ปรับปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจนได้แรงบิดสูงสุดที่แต่ละความเร็วรอบ ทำให้ทราบถึงปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่เครื่องยนต์ต้องการในแต่ละสภาวะการขับขี่ ในงานวิจัยนี้ เลือกใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ในตระกูล MCS-51 เป็นตัวควบคุม รับสัญญาณตำแหน่งปีกผีเสื้อ จากตัวตรวจจับตำแหน่งปีกผีเสื้อและความเร็วรอบของเครื่องยนต์จากคอยล์จุดระเบิด ควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจนด้วยการเปิดปิดของโซลีนอยด์วาล์วแบบ PWM การเขียนโปรแกรมควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. ใช้สัญญาณตำแหน่งปีกผีเสื้อเพียงสัญญาณเดียวในการกำหนดปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจน 2. ใช้สัญญาณตำแหน่งปีกผีเสื้อร่วมกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต์ในการกำหนดปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจน เมื่อนำไปติดตั้งเข้ากับรถยนต์ไฮโดรเจนเพื่อทดสอบสมรรถนะในการขับขี่พบว่าระบบจ่ายเชื้อเพลิงสามารถทำงานได้ ที่ความเร็วได้ไม่เกิน 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to study the computerized control system of hydrogen fuel flow rate in an internal combustion engine. In this research, the engine used is a MITSUBISHI gasoline engine model 4G32 B2AW 5841 and ignition timing is constant at TDC. The engine was tested on the engine test bed. The engine speed varied between 2000-3200 rpm at throttle position 50%, 75% and 100%, hydrogen flow rate was adjusted until the engine reached the maximum torque at each speed. The result showed the hydrogen fuel flow rate that the engine needed for different driving conditions. In this research, the controller is MCS-51 microcontroller, the input signals are both throttle position from throttle position sensor and engine speed fom ignition coil and use the PWM on-off control of solenoid valve to control hydrogen fuel flow rate. The control method is divided into 2 types. 1. Use the throttle position signal only to control the flow rate of hydrogen fuel 2. Use the throttle position signal with engine speedsignal to control the flow rate of hydrogen fuel. After the installation of the electronic hydrogen fuel cont. | en |
dc.format.extent | 2696762 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เครื่องยนต์สันดาปภายใน -- การควบคุม | en |
dc.subject | เชื้อเพลิงไฮโดรเจน | en |
dc.title | ระบบควบคุมปริมาณเชื้อเพลิงไฮโดรเจนด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน | en |
dc.title.alternative | A computerized control system of hydrogen fuel flow rate in an internal combustion engine | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเครื่องกล | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fmewyc@eng.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wachiraporn.pdf | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.