Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไพฑูรย์ สินลารัตน์ | - |
dc.contributor.author | ปทีป เมธาคุณวุฒิ | - |
dc.contributor.author | สุลักษณ์ ศรีบุรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-04T10:43:22Z | - |
dc.date.available | 2010-03-04T10:43:22Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12115 | - |
dc.description | แนวคิดการผลิตและการพัฒนาครูเพื่อการเรียนรู้ด้วยการพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย -- การพัฒนาปัญญาเกิดจากการพัฒนา 3 ระดับ -- การสร้างครูเพื่อพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย -- คุณลักษณะของครูตามมิติการสร้างครู -- การจำแนกรูปแบบย่อยการผลิตและการพัฒนาครูเพื่อการเรียนรู้ ด้วยการพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย -- โครงสร้างหลักสูตรการผลิตครูระดับปริญญาตรีเพื่อการเรียนรู้ ด้วยการพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย -- สัดส่วนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในชั้นปีที่ 5 ของนักศึกษาครู -- บทบาทหน้าที่ของครูในโรงเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียน -- ยุทธศาสตร์ปัญจศิลาเพื่อการผลิตและพัฒนาครู | en |
dc.description.abstract | วิเคราะห์หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย และพัฒนารูปแบบการผลิตครูในระดับปริญญาตรีและพัฒนาครูประจำการเพื่อรองรับกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย ซึ่งหมายถึง กรอบวิธีคิดในการดำรงชีวิตของคนไทยที่อยู่บนฐาน 3 ประการในสภาพสังคมไทยคือ พระพุทธศาสนา มีหลักธรรมที่เน้นกระบวนการพัฒนาปัญญาภายในบุคคล สังคมเกษตรกรรมและเศรษฐกิจพอเพียง โดยการยึดหลักการพึ่งพาตนเอง งานวิจัยนี้เน้นการวิเคราะห์เอกสารแล้วสังเคราะห์กับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยเสนอรูปแบบการผลิตและพัฒนาครูบนพื้นฐานของแนวคิดไทยที่บูรณาการ 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 พุทธศาสนา สร้างปัญญา และการครองตน ที่ใช้เป็นหลักในการคิด การกระทำ และพัฒนาคุณภาพชีวิต มิติที่ 2 สังคมเกษตรกรรม รวมทั้งธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรมไทย ในการดำรงชีวิตของคนไทย มิติที่ 3 บริบทของชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำรงเลี้ยงตนเอง สร้างรายได้และปฏิบัติตน มิติที่ 4 การสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นความสมดุลในการใช้เทคโนโลยี ภูมิปัญญาไทย ในการดำรงชีวิตและนำไปสู่การเรียนการสอน ในรูปแบบได้เสนอคุณลักษณะของครูตามมิติการสร้างครูและสภาพการเรียนรู้ที่ครู พ่อ แม่ นักเรียน ร่วมกันสร้างสรรค์การเรียนรู้ โดยมีการถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกันระหว่างพ่อ แม่ นักเรียนและครู และครูสู่นักเรียนและพ่อแม่ รวมทั้งความรู้จากโลกแห่งความเป็นจริง จากคน ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม รูปแบบนี้จะต้องให้เหมาะสมกับบริบททางสังคมซึ่งมี 3 รูปแบบ ได้แก่รูปแบบที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและชีวิตของกรุงเทพมหานคร ที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและชีวิตเมืองต่างจังหวัด และที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมและชีวิตของชนบทต่างจังหวัด สุดท้ายงานวิจัยเสนอแนะชุดการสอนและรายวิชาต่างๆ เพื่อการนำไปใช้และยุทธศาสตร์ปัญจศิลา | en |
dc.description.abstractalternative | To analyze principles and concepts related to intellectual development learning process based on Thai wisdom and to develop an undergraduate teacher education and training models in accordance to this learning process. On Thai wisdom this learning process means the Thais’ living framework in Thai society based on 3 principles: Buddhism which gives religious principles for in-personal intellectual development; agricultural society; and sufficient economy based on self-reliance. The study emphasizes in document analysis, then synthesis with experts’ opinions. The study reveals an integrated models of 4 dimensions as follow (1) Buddhism which creates intellectual and the way of living as the principle in thinking, behaving, and developing life quality; (2) the agricultural society including nature, environment, reservation and Thai culture in the Thai’s ways of living; (3) context of living in the way of sufficient economy philosophy for Thai’s living and income earn; (4) information technology and communication for balancing between technology and local wisdom in the way of living, learning and teaching. The model proposes teacher’s characteristics in accordance to the four dimensions and learning environment which create by teachers, parents and students. The knowledge is transferred to each other between those groups of people and transferring from teachers to students and their parents. The knowledge is captured from the real world, people, community, society and environment. There are 3 types of the model appropriated to the social context such as the model in accordance to society and way of living in Bangkok Metropolis, in urban area in big provinces, and in rural area in the small provinces. Finally, the study presents modules and courses and also the five pillars-base strategy for teacher education and training. | en |
dc.description.sponsorship | เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2546 | en |
dc.format.extent | 11645398 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ครู | en |
dc.subject | ปัญญา | en |
dc.subject | การเรียนรู้ | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการสร้างและพัฒนาครูเพื่อรองรับกระบวนการเรียนรู้ ในการพัฒนาปัญญาบนพื้นฐานแนวคิดไทย : รายงานผลวิจัย | en |
dc.title.alternative | The Development of model for teacher production and training on intellectual development learning process based on Thai wisdom | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Paitoon.Si@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Pateep.M@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Sulak.S@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Paitoon_Teacher.pdf | 11.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.