Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภัทรา อักษรานุเคราะห์-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ จิตต์บรรเทา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-09T01:05:36Z-
dc.date.available2010-03-09T01:05:36Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746360183-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12137-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษ กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษ กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กรุงเทพมหานคร จำนวน 395 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ แบบสอบถามความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษด้านทักษะการอ่าน ซึ่งดัดแปลงมาจากแบบสอบถามของ ดูแอน เอฟ เชลล์ และคณะ (Duane F.Shell and other, 1989:91-100) ได้รับการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านและแบบสอบวัดความสามารถในการอ่าน เพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และได้รับการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และแบบสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และได้รับการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว นำมาวิเคราะห์ด้วยการหาค่าความสัมพันธ์แบบเพียร์สันและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. การรับรู้ความสามารถของตนเองมีความสัมพันธ์ทางบวก กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. ความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษมีความสัมพันธ์ทางบวก กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. การรับรู้ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en
dc.description.abstractalternativeStudies the relationship between self-efficacy and English reading comprehension ability, the relationships between expectancy in learning English language and English reading comprehension ability and the relationships between self-efficacy, expectancy in learning English language and English reading comprehension ability. The sample was 395 mathayom suksa five students in secondary school, Bangkok metropolis. The research instruments were the questionnaires of self-efficacy, expectancy in learning English language adapted from Duane F. Shell and other (1989:91-100) and approved the content validity by 5 specialists and the reading comprehension ability test constructed by the researcher and approved the content validity by 5 specialists. The collected data were then analyzed by means of Pearson Product Moment Correlation and multiple correlation. The results of the study revealed that: 1. Self-efficacy was positively and significantly correlated with English reading comprehension ability.(p<0.01) 2. Expectancy in learning English language was positively and singnificantly correlated with English reading comprehension ability. (p<0.01) 3. Self-efficacy and expectancy in learning English language were positively and significantly correlated with English reading comprehension ability. (p<0.01)en
dc.format.extent783974 bytes-
dc.format.extent786242 bytes-
dc.format.extent1335632 bytes-
dc.format.extent800802 bytes-
dc.format.extent710504 bytes-
dc.format.extent736887 bytes-
dc.format.extent1042509 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษาen
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่านen
dc.subjectความคาดหวัง (จิตวิทยา)en
dc.subjectความสามารถในตนเองen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษ กับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอ้งกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeRelationships between self-efficacy, expectancy in learning English language and English reading comprehension ability of mathayom suksa five students, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนภาษาอังกฤษes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kannika_Ji_front.pdf765.6 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_ch1.pdf767.81 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_ch2.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_ch3.pdf782.03 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_ch4.pdf693.85 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_ch5.pdf719.62 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Ji_back.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.