Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12174
Title: ผลของยาเบอร์ราโพส โซเดียมต่อความดันในปอดของคนไข้โรคถุงลมโป่งพองที่มีความดันในปอดสูง
Other Titles: The effect of oral prostacyclin analoque (beraprost sodium) on pulmonary artery pressure of COPD patients with secondary pulmonary hypertension
Authors: พิธา พรหมลิขิตชัย
Advisors: จักรพันธ์ ชัยพรหมประสิทธิ์
ฉันชาย สิทธิพันธุ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
Advisor's Email: cjarkarp@hotmail.com
chanchai.s@chula.ac.th
Subjects: เบอร์ราโพสโซเดียม
ความดันในปอดสูง
ถุงลมโป่งพอง
Issue Date: 2545
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์: ศึกษาผลของยา prostacyclin I2 analogue (beraprost sodium) ในรูปแบบรับประทาน ว่าสามารถลด pulmonary pressure ในคนไข้ COPD ที่มี secondary PHT ได้หรือไม่ เมื่อเทียบกับ placebo วิธีดำเนินการ: คนไข้ COPD ที่รับการรักษาต่อเนื่องในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 25 คน และมี secondary PHT, right ventricular dysfunction จะได้รับการสุ่มเพื่อได้รับยา beraprost sodium หรือ placebo เป็นเวลา 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นจะทำการ cross over กลุ่มที่ได้รับ beraprost sodium เป็นเวลาอีก 2 สัปดาห์ การประเมินความดันในปอด การเดินระยะทาง 6 นาที (6-minute walk) ความดันโลหิต ชีพจร และตอบแบบสอบถามอาการข้างเคียง จะทำที่จุดเริ่มต้นของการศึกษา วันที่ 15 และวันสุดท้ายของการศึกษา ผลการศึกษา: ยา beraprost sodium สามารถลดความดันในปอด (SPAP) ของคนไข้ COPD จาก 45.3 +- 6.7 มิลลิเมตร เหลือ 40.22 +- 3.7 มิลลิเมตรปรอท โดยมีความแตกต่าง 5.12 มิลลิเมตรปรอท (95% CI, 1.8 to 8.4 มิลลิเมตรปรอท, P = 0.002) ไม่มีความแตกต่างของระยะทางที่ผู้ป่วยเดินได้ใน 6 นาที 325.6 +- 97 เมตร vs 329.1 +- 100.4 เมตร (P = 0.983) ระดับความดันโลหิต 98.1 +- 6.2 vs 99.3 +- 6.2 มิลลิเมตรปรอท (P = 0.55 ) ชีพจร 76.9 +- 10.4 vs 79.6 +- 13.8 (P = 0.56) เมื่อเทียบกับจุดตั้งต้นและหลังจากได้รับยาหลอก สรุป: ยา beraprost sodium สามารถลดความดันในปอดของคนไข้ถุงลมโป่งพองและมีความดันในปอดสูงได้ 5.12 monthy โดยไม่มีผลต่อความดันโลหิตและอัตราการเดินของชีพจรของคนไข้ แต่ไม่สามารถเพิ่มระยะทางที่คนไข้ใช้เดินได้ใน 6 นาที
Other Abstract: Objectives: To study effect of beraprost sodium on pulmonary pressure in COPD patients with mild to moderate pulmonary hypertension( PHT) and right ventricular (RV) dysfunction. Methods: 25 COPD patients with mild to moderate PHT and RV dysfunction were randomized to receive beraprost sodium or placebo for 2 weeks and then cross over to another drug for another 2 weeks. Pulmonary systolic pressure; 6-minute walk; mean arterial pressure (MAP); heart rate (HR) and side effect questionnaires were performed at baseline, second week and fourth week. Results: There was significant reduction in systolic pulmonary artery pressure 5.12 mmHg (95% CI, 1.8 to 8.4 mmHg, P =0.002 ) after beraprost sodium administration for 2 weeks (40.22 +- 3.7 mmHg) compare with placebo (45.3 +- 6.7mmHg). There was no significant change in mean walking distance in 6 minute (325.6 +- 97 and 329.1 +- 100.4 meters, respectively, P = 0.983), MAP (98.1 +- 6.2 and 99.3 +- 6.2 mmHg, respectively; P = 0.55 ), HR (76.9 +- 10.4 and 79.6 +- 13.8/minute, respectively; P = 0.56). Common side effects in Thai patients were flu like symptoms and dizziness. Conclusion: Beraprost sodium can significantly reduce pulmonary pressure 5.12 mmHg and do not have effect to MAP and HR. But it can not improve mean walking distance in 6 minute in COPD patients with mild to moderate PHT and RV dysfunction.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: อายุรศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12174
ISBN: 9741728956
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitha.pdf919.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.