Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12218
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | หรรษา ปุณณะพยัคฆ์ | - |
dc.contributor.advisor | มุกดา คูหิรัญ | - |
dc.contributor.author | เบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-15T05:56:58Z | - |
dc.date.available | 2010-03-15T05:56:58Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741729901 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12218 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | การผลิตเอนไซม์ลิกนินเปอร์ออกซิเดส (LiP) จากไวท์รอท 4 สายพันธุ์ คือ Phanerochaete chrysosporium, Ganoderma Iucidum, Ganoderma sp. และ Schizophyllum commune ในอาหารที่เติมเยื่อยูคาลิปตัสภายใต้สภาวะนิ่ง พบว่าไวท์รอทผลิตเอนไซม์ได้ดีที่ pH 4-6 อุณหภูมิ 30- 40 ํC โดย P. chrysosporium สามารถผลิตเอนไซม์ LiP ได้ดีที่สุด (0.2956 U/ml.) และนอกจากนั้นยังพบแอคติวิตีของเอนไซม์แมงกานีสเปอร์ออกซิเดส (MnP) และ veratryl alcohol oxidase (VAO) การทำเอนไซม์ให้บริสุทธิ์โดยการตกตะกอนด้วยแอมโมเนียมซัลเฟต (60-80 w/v) จะให้ผลดีกว่าการกรองด้วย ultra filtration ซึ่งแอคติวิตีของ LiP และ MnP จาก P. chrysosporium เพิ่มขึ้น 5.1 และ 4.4 เท่าโดยมีความเสถียรของ LiP ที่ pH 5-6 อุณหภูมิ 35-45 ํC และ MnP ที่ pH 5-6 อุณหภูมิ 35-40 ํC G. lucidum และ Ganoderma sp. ผลิต MnP และ แลคเคส (Lac) ได้ โดย แอคติวิตีของ MnP เพิ่มขึ้น 4.61 และ 4.5 เท่า ในขณะที่แอคติวิตีของ Lac เพิ่มขึ้น 6.2 และ 5.06 เท่า สำหรับ G. lucidum และ Ganoderma sp. ตามลำดับ MnP และ Lac จากทั้ง 2 สายพันธุ์มีความเสถียรที่ pH 4-6 อุณหภูมิ 35 ํC สำหรับ S.commune พบว่า ผลิต MnP ที่สามารถทำให้มีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น 4.69 เท่า และมีความเสถียรที่ pH 4-8 อุณหภูมิ 35 ํC เมื่อฟอกเยื่อกระดาษยูคาลิปตัสด้วย LiP จาก P. chrysosporium MnP จาก S. commune และ Lac จาก G.lucidum และ Ganoderma sp.(12.5 IU/gOD) พบว่ากระดาษที่ผ่านการฟอกด้วย LiP จาก P.chrysosporium จะให้คุณภาพของกระดาษดีที่สุด โดยมี burst index เป็น 0.75 tear index เป็น 5.27 และ tensile index เป็น 17.03 ในขณะที่ MnP จาก S. commune ให้ค่าความขาวสว่างเพิ่มขึ้น (4.06%) และค่าคัปปานัมเบอร์ลดลง (17.46%) | en |
dc.description.abstractalternative | Four white rot fungi, Phanerochaete chrysosporium, Ganoderma Iucidum, Ganoderma sp., and Schizophyllum commune, were cultivated in liquid medium containing eucalyptus paper pulp. All tested white rot fungi produced Lignin peroxidase (LiP) at pH4-6, and 30-40 ํC. P. chrysosporium gave the highest LiP activity (0.2956 U/ml.) while Manganese peroxidase (MnP) and Veratryl alcohol oxidase (VAO) were also produced. Ammonium sulfate precipitation (60-80 w/v) gave more higher purification factor than ultra filtration. Increasing in purification factor of LiP and MnP from P. chrysosporium were 5.1 and 4.4 while stabilityt of LiP ans MnP were at pH 5-6, and 35-45 ํC and pH 5-6, and 35-40 ํC, respectively. G. lucidum and Ganoderna sp. produced MnP and Laccase (Lac).After ammonium sulfate precipitation (60-80 w/v), increasing in purification factor of MnP was 4.61 and 4.5 while Lac was 6.2 and 5.06 for G. lucidum and Ganoderma sp., respectively. Stability of MnP and Lac derived from both strains were at pH 4-6 ,and 35 ํC. Increasing in purification factor of MnP derived from S.commune after ammonium sulfate precipitation (60-80 w/v) and stability were 4.69 and pH4-6 and 35 ํC, respectively. Bleaching of eucalyptus paper pulp with LiP derived from P. chrysosporium, MnP derived from S. commune, and Lac derived from G. lucidum and Ganoderma sp.(12.5 IU/gOD) were determined. LiP derived from P. chrysosporium gave the best paper quality with the index numbers of 0.75 for burst index, 5.27 for tear index and 17.03 for tensile index, respectively while MnP derived from S. commune gave the best results on increasing the brightness (4.06%) and decreasing the kappa number(17.46%). | en |
dc.format.extent | 1368402 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ลิกนิน | en |
dc.subject | เปอร์ออกซิเดส | en |
dc.subject | เอนไซม์ | en |
dc.subject | เชื้อรา | en |
dc.title | การผลิตเอนไซม์ลิกนินเปอร์ออกซิเดสจากรากกลุ่มไวท์รอทบางชนิด | en |
dc.title.alternative | Production of lignin peroxidase enzyme from some white rot fungi | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พฤกษศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Hunsa.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Benjawan.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.