Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.authorจรรยา บุญปล้อง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-16T02:44:54Z-
dc.date.available2010-03-16T02:44:54Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743311254-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12244-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ (1) เพื่อพัฒนารูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อสอนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (2) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิธีดำเนินการวิจัยมี 5 ขั้นตอน คือ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (2) ออกแบบรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อสอนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ (3) สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามรูปแบบที่กำหนด (4) ทดสอบประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่งและกลุ่มย่อยตามเกณฑ์ 90/90 และ (5) ทดสอบประสิทธิภาพด้วยการนำรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในสถานการณ์จริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 60 คน จากโรงเรียนวิมุตยารามพิทยากร เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร จำแนกเป็นกลุ่มที่มีระดับความสามารถในการเรียนสูง ปานกลาง และต่ำ กลุ่มละ 20 คน โดยการสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองเพื่อเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 90/90 ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อสอนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณมีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการคือ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กระบวนการเรียนการสอน และการประเมินผล ลักษณะเฉพาะของกระบวนการเรียนการสอนเน้นการสอนตรง การสอนแบบสอดแทรก และวิธีเมตตาคอคนิชัน 2. ผลการใช้รูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจากการวิเคราะห์คะแนนก่อนและหลังเรียนปรากฏผลดังนี้ 2.1 คะแนนหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถในการเรียนสูง ปานกลาง และต่ำ สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่มีความสามารถในการเรียนต่างกันมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. กลุ่มตัวอย่างที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความเห็นว่า การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนน่าสนใจ และพอใจการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a model for computer-assisted instruction lesson for teaching critical reading for lower secondary school students (2) to study the use of a model for computer-assisted instruction lesson and (3) to study opinions of the samples concerning a model for computer-assisted instruction lesson. The research methodologies included 5 steps (1) the study and analysis of related literature (2) the design of a model for computer-assisted instruction lesson for teaching critical reading (3) the development of computer-assisted instruction lessons based on a designed model (4) the conduct of one-on-one and small group formative evaluation based on the 90/90 criteria and (5) the conduct of summative evaluation in the real setting. The samples for the study included 60 mathayom suksa three students of Wimuttayarampittayakon School. Based on their grade point average, they were randomly assigned to one of the three groups: high, medium and low learning achievement group. Each group studied critical reading from computer-assisted instruction lessons. The research findings were as follows: 1. A model for computer-assisted instruction lesson for teaching critical reading consisted of five components: principle, objectives, contents, instructional process, and evaluation. The instructional process specifically focused on direct approach, indirect approach, and metacognition. 2. The results of using computer-assisted instruction lessons from statistical analysis of the pretest and posttest data revealed that: 2.1 The posttest scores of the high, medium and low learning achievement samples were significantly higher than the pretest scores at 0.05 level. 2.2 There were statistical significant differences between critical reading posttest scores of the samples with different learning achievement levels at 0.05 level. 3. The samples indicated that computer-assisted instruction lessons was interesting and they studied the lessons with satisfactionen
dc.format.extent1064596 bytes-
dc.format.extent1206705 bytes-
dc.format.extent5616580 bytes-
dc.format.extent1328365 bytes-
dc.format.extent484798 bytes-
dc.format.extent964376 bytes-
dc.format.extent931667 bytes-
dc.format.extent4023403 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectการอ่านขั้นมัธยมศึกษาen
dc.subjectวิจารณญาณen
dc.titleการพัฒนารูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อสอนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeA development of a model for computer-assisted instruction lesson for teaching critical reading for lower secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
dc.email.advisorOnjaree.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanya_Bo_front.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch1.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch2.pdf5.48 MBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch3.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch4.pdf473.44 kBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch5.pdf941.77 kBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_ch6.pdf909.83 kBAdobe PDFView/Open
Chanya_Bo_back.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.