Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัณณศรี สินธุภัค-
dc.contributor.advisorอริยา จินดามพร-
dc.contributor.authorเจนจิรา ชัยชโลทรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-03-16T02:48:30Z-
dc.date.available2010-03-16T02:48:30Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741732449-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12245-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractความสำคัญของปัญหา: โรคกลากที่เท้า (Tinea pedis) เป็นโรคกลากที่พบได้บ่อยที่สุดและมักเป็นเรื้อรัง การรักษาขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อก่อโรค จึงมีความสำคัญในการเพาะเลี้ยงแยกเชื้อ เพื่อเป็นแนวทางในการรักษาและพยากรณ์โรค โดยทั้งนี้ในประเทศไทยยังไม่มีผู้ใดศึกษาถึงเชื้อรา ที่เป็นสาเหตุของโรคกลากที่เท้ามาก่อน วัตถุประสงค์: ศึกษาหาความชุกและชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคกลากที่เท้า ในคลินิกผู้ป่วยนอก หน่วยโรคผิวหนัง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิธีดำเนินการ: ศึกษาเชิงพรรณนา โดยผู้ป่วยที่มีรอยโรคเข้าได้กับโรคกลากที่เท้าหรือสงสัยว่าเป็นโรคกลากที่ เท้า จะได้รับการตรวจโดยขูดขุยจากบริเวณที่เป็นรอยโรคตรวจด้วยน้ำยา 10% KOH และตรวจหาสายราด้วยกล้องจุลทรรศน์ หากมีการตรวจพบสายราจะทำการเพาะเลี้ยงเชื้อที่ 25-30 ํC เป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยจะเพาะเชื้อทั้งสิ้น 2 ครั้งเพื่อป้องกันการขึ้นของเชื้อราจากเชื้อปนเปื้อน โดยข้อมูลผู้ป่วยและปัจจัยเสี่ยงจะถูกเก็บรวบรวมจากการกรอกแบบสอบถาม ผลการศึกษา: พบความชุกของเชื้อก่อโรคของโรคกลากที่เท้าในคลินิกผู้ป่วยนอก หน่วยโรคผิวหนัง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้ป่วย 89 จาก 103 คน สามารถเพาะเชื้อได้คิดเป็น 86.41% แยกเป็นเชื้อ T.mentagrophyte 51.46%, T.rubrum 21.36%, Candida sp. 7.77%, Hendersonular sp. 3.88% เชื้ออื่นๆ 1.94% พบความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อที่เพาะขึ้นกับอาการแสดงทางคลินิก ช่วงอายุ เพศ อาชีพ และกิจกรรมที่ทำให้เท้าอับชื้น สรุป: พบว่าการสวมรองเท้าหุ้มส้นและภาวะที่ทำให้เกิดความอับชื้นที่เท้า มีผลต่อการเกิดโรคกลากที่เท้า เป็นข้อบ่งชี้ว่าควรให้ความสนใจในการพยากรณ์โรคในกลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการป้องกันการเกิดโรคกลากที่เท้า และผลข้างเคียงที่ตามมาจากการเป็นโรคกลากที่เท้าen
dc.description.abstractalternativeBackground: Tinea pedis is the most common form of dermatophyte infection of skin that resisted to therapy and high recurrence rate. Treatments depend on strain of the organism. The culture of dermatophyte had not been documented in Thailand. Objectives: To determine the prevalence and causative agent of tinea pedis from outpatient unit department of dermatology in King Chulalongkorn memorial hospital. Methods: The patients from outpatient unit department of dermatology in King Chulalongkorn memorial hospital was examined for the presence of tinea pedis. Scrapings from suspected lesions of fungal infection were sent to a mycological laboratory for KOH microscopy and fungal identification. The fungal culture was done for 2 time to prevention of contaminated fungi. Information on the patient's background and predisposing factors (regarding living conditions, hygiene, etc.) were provided by means of questionnaires filled out by each patient. Results: The prevalence of causative agent of tinea pedis found a dermatophyte was isolated in 89 patients (86.41%)Trichophyton mentagrophyte and T. rubrum accounted for 51.5% and 21.4%, respectively, Candida sp. 7.77%,Hendersonular.sp 3.88% other mold 1.94%. There are relationship between strains of fungi and clinical, id eruption and recurrence rate. Conclusions: The results of this survey indicate that use of occlusive footwear can have an unfavorable effect on individual regarding the occurrence of the superficial fungal infection. The results indicate a need to pay more attention to predict and prevent future diseases and further complications.en
dc.format.extent1272360 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรคน้ำกัดเท้าen
dc.subjectกลากen
dc.subjectเชื้อราen
dc.titleการศึกษาถึงความชุกและการกระจายของเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคกลากที่เท้าในคลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeThe prevalence and distribution of causative agents of tinea pedis in out patients unit in King Chulalongkorn Memorial Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmedwsd@dm2.md.chula.ac.th, Wannasri.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAriya.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
janejira.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.