Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพัทธิ์ กาญจนธนาเลิศ-
dc.contributor.authorกฤตย์ กานต์กรกช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-03-25T03:12:46Z-
dc.date.available2010-03-25T03:12:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12320-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพจิต ของผู้ที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศจากชายเป็นหญิง มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 91 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการผ่าตัดทั่วไป และแบบคัดกรองสุขภาพจิต General health questionnaire 30 (GHQ-30) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows 13 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน Pearson's correlation coefficient, t-test และ Stepwise multiple regression analysis ผลการวิจัยพบว่า ผู้ชายที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศจากชายเป็นหญิงส่วนใหญ่มีสุขภาพจิตปกติ จำนวน 78 คน คิดเป็น 85.7% และ ผู้ชายที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศจากชายเป็นหญิงที่มีปัญหาสุขภาพจิต มีจำนวน 13 คน คิดเป็น 14.3% ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิต ได้แก่ สถานภาพสมรส การใช้ยาแก้ปวด และการตัดสินใจในการเข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศ หากย้อนเวลากลับได้ มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% กล่าวคือ การมีคู่ครอง การไม่ใช้ยาแก้ปวด และการรู้สึกว่าตนตัดสินใจผิดพลาดที่รับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศ วิเคราะห์สถิติโดยใช้ Stepwise multiple regression analysis พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตคือ สถานภาพสมรส สามารถพยากรณ์ได้ 8.7% เมื่อเพิ่มตัวแปร การตัดสินใจในการเข้ารับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศ หากย้อนเวลากลับได้ พยากรณ์ได้ 14.3%en
dc.description.abstractalternativeThis thesis was a cross-sectional descriptive study. The objectives was to study the mental health and related factors of 91 males after sex reassignment surgery who live and work in Bangkok Metropolitan and Pattaya district. The instrument used was a set of questionnaires consist of 2 parts: Demographic questionnaires and General health questionnaires 30 (GHQ 30). The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test, Pearson's correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The study revealed that 14.3% of sample size had mental health problems. Factors related with mental health were marital status, taking pain killer and sex reassignment decision - if they were able to turn back time revealed statistically significant at p < 0.05. By using stepwise multiple regression analysis, there were only 2 significant predicted factors which were marital status at 8.7% and sex reassignment decision at 14.3%.en
dc.format.extent1647731 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.176-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุขภาพจิตen
dc.subjectการแปลงเพศen
dc.subjectเอกลักษณ์ทางเพศen
dc.titleสุขภาพจิตของผู้ชายที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนเพศที่มีอาชีพบริการen
dc.title.alternativeMental health after sex reassignment surgery of male at service industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.176-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krit.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.