Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12327
Title: Real-time traffic signal control for maximizing network throughput
Other Titles: การควบคุมสัญญาณไฟจราจรแบบทันกาลเพื่อให้มีอัตราการผ่านโครงข่ายสูงสุด
Authors: Grittigrai Karalak
Advisors: Sorawit Narupiti
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Sorawit.N@Chula.ac.th
Subjects: Traffic signs and signals -- Control systems
Transportation demand management
Queuing theory
Computer simulation
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To develop an actuated traffic-signal-control method that has ability to efficiently manage traffic, especially oversaturation, by considering not only present situation in only small area but also considering the effect to the whole network in nearly future and to compare effectiveness with some other methods. This method focuses on maximizing overall throughput of the system. The scope of study covers two parts which are developing and testing the method in some different levels of traffic. The method is developed and it is tested on a computer-simulated corridor with four intersections compared to fixed-time method with and without prevention of green-time loss. The tool used in the test is a micro-simulation program, named Paramics. The results, which are number of vehicles containing in the system, average green time given to each link during a peak hour, destination arrival, real-time throughput, real-time average speed in the system, total travel time, and peak throughput, are statistically considered. The results show that the method really gives very high total throughput to the system in the condition of having oversaturated demand. It also works well with the saturated one but this method works inefficiently for the case of having too low demand that is considered to be less than theoretical capacity of the system.
Other Abstract: พัฒนาวิธีการควบคุมระบบสัญญาณไฟจราจรแบบที่ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ เพื่อจัดการสภาพการจราจรหนาแน่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ไม่เพียงพิจารณาผลกระทบในปัจจุบันต่อพื้นที่ใกล้เคียง แต่ยังได้พิจารณาผลซึ่งส่งไปถึงทั้งระบบในอนาคตอันใกล้ และทดสอบผลลัพธ์ของวิธีควบคุมนี้กับผลที่ได้จากวิธีการควบคุมแบบอื่น วิธีการควบคุมนี้จะเน้นการทำให้มีอัตราการผ่านระบบโดยรวมสูงสุด ขอบเขตการวิจัยนั้นครอบคลุมสองส่วนอันได้แก่ การพัฒนาวิธีการควบคุมและการทดสอบวิธีควบคุมกับระดับการจราจรที่แตกต่างกัน วิธีการควบคุมนี้ได้รับการพัฒนาขึ้นและถูกทดสอบบนโครงข่ายเส้นทางหลัก (corridor) ที่มีแยกสัญญาณไฟ 4 แห่งและได้ทดสอบกับสภาพการเดินทางคล้ายคลึงกับ การเข้ามาสู่พื้นที่ของการจราจรในช่วงเช้าโดยทดสอบบน 2 กรณีศึกษาของสภาพการจราจรในแต่ละกรณีศึกษามีระดับการจราจร 5 ระดับตั้งแต่รถเบาบางจนถึงรถหนาแน่นมาก ซึ่งกรณีศึกษาเหล่านี้ถูกจำลองขึ้นในคอมพิวเตอร์ เพื่อเปรียบเทียบกับการควบคมสัญญาณไฟแบบเวลาคงที่ ทั้งที่มีและไม่มีการป้องกันการสูญเสียช่วงเวลาไฟเขียว โดยเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบโปรแกรมจำลองสถานการณ์ระดับจุลภาคชื่อ Paramics ผลการทดสอบได้ถูกนำมาพิจารณาโดยใช้ตัวชี้วัดได้แก่ ปริมาณรถในระบบ ช่วงเวลาไฟเขียวเฉลี่ยที่แต่ละขาได้ในชั่วโมงเร่งด่วน การถึงที่หมายของยวดยาน อัตราการผ่านโครงข่ายในแต่ละเวลา ความเร็วเฉลี่ยของยวดยานในแต่ละเวลา เวลาในการเดินทางรวม และอัตราการผ่านระบบสูงสุดที่เกิดขึ้น ผลการทดสอบนั้นแสดงให้เห็นว่า วิธีการควบคุมดังกล่าวนั้นให้อัตราการผ่านระบบโดยรวมสูงมาก ในกรณีที่มีความต้องการเดินทางแบบเกินอิ่มตัว และยังให้ค่าที่ค่อนข้างดีในกรณีของต้องการเดินทางแบบอิ่มตัว แต่วิธีควบคุมแบบนี้กลับไม่มีประสิทธิภาพในกรณีที่มีความต้องการน้อยในระดับ ที่ไม่อิ่มตัว เทียบกับความสามารถในการรองรับประมาณการจราจรของระบบโดยรวม
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12327
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1810
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1810
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Grittigrai.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.