Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12353
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.advisor | จินตนา ยูนิพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | สุวรรณา อนุสันติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-26T07:18:30Z | - |
dc.date.available | 2010-03-26T07:18:30Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743312846 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12353 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาต้นเหตุ การตอบสนองและการปรับตัวต่อความเครียด ของนิสิตนักศึกษาพยาบาล สร้างแบบวัดความเครียดของนิสิตนักศึกษาพยาบาล และสร้างรูปแบบการพัฒนานิสิตนักศึกษาพยาบาล ในการหาค่าบรรทัดฐานของแบบวัด ประชากรเป็นนิสิตนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ทั้งสถาบันรัฐและเอกชน สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นและสุ่มแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 881 คน รูปแบบการพัฒนานิสิตนักศึกษาพยาบาล เพื่อลดความเครียดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย 4 ส่วนคือ (1) มีองค์กร เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนานิสิตนักศึกษา (2) ผู้รับผิดชอบอาจมีหลายฝ่าย และต้องมีผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับการให้คำปรึกษา (3) การดำเนินการจะต้องใช้แบบวัดความเครียดและเข้ารับการพัฒนาตามโปรแกรม (4) การประเมินผล ใช้ผลจากคะแนนแบบวัดและการสังเกต สำหรับโปรแกรมการลดความเครียดมีลักษณะเหมาะสมกับ ระดับของความเครียดของนิสิต นักศึกษาพยาบาล แบ่งเป็น 3 โปรแกรม คือ โปรแกรมการอ่านคู่มือลดความเครียด โปรแกรมการฝึกเทคนิคเพื่อลดความเครียด และโปรแกรมการให้คำปรึกษาเพื่อลดความเครียด ในการทดลองรูปแบบที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลเซนต์หลุยส์ ปีการศึกษา 2541 จำนวน 60 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองจะได้เข้าโปรแกรม 1, 2 และ 3 ตามระดับความเครียดของนักศึกษา เป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้คือแบบวัดความเครียดนิสิตนักศึกษาพยาบาล แบบสังเกตพฤติกรรมนิสิตนักศึกษาพยาบาล และแบบประเมินตนเองของนิสิตนักศึกษาพยาบาล ผลการทดลองพบว่า 1. นักศึกษากลุ่มทดลอง มีความเครียดลดต่ำลงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษากลุ่มทดลองที่มีความเครียดระดับปานกลางและระดับรุนแรง มีความเครียดลดต่ำลงกว่ากลุ่มควบคุมในระดับเดียวกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นนักศึกษาที่มีความเครียดระดับเล็กน้อย มีความเครียดไม่แตกต่างจากกับกลุ่มควบคุม | en |
dc.description.abstractalternative | To study the stressors, stress responses and coping behaviors, to develop a Stress Inventory for nursing student and construct a nursing student development model in reducing stress. Stratified random sampling were used to fine norm of Stress Inventory, with 881 first year nursing students from public and private nursing institutions under the jurisdiction of the Ministry of University Affairs. The nursing student development model, constructed by the researcher composed of 4 parts: organization, responsible bodies, activities and evaluation. Three type of programs activities in the model were designed to be used in reducting stress of nursing students. In the activity components, there were three programs for reducing stress, namely, stress reduction manual, relaxation training stress counselling. Samples used in the implementation of the nursing development medel were 60 first year students from Saint Louis Nursing College. The subjects were randomly assigned into one experimental and one control group according to the stress level. The subjects in experimental group joined the stress reduction program I, II or III for 5 weeks according to individual's stress level. The instruments used in evaluating the outcomes of nursing student development model were the stress inventory and observation. The results of the experiment the followings: 1. The stress level of the experiment group the comparision of between before and after the experiment was significantly different at .05 2. In comparing between the control group and experimental group after the experiment, the moderate and severe stress level groups were significantly different at .05 level. No significantly difference was found for the mild stress level group. | en |
dc.format.extent | 1220729 bytes | - |
dc.format.extent | 1437191 bytes | - |
dc.format.extent | 5514283 bytes | - |
dc.format.extent | 1329424 bytes | - |
dc.format.extent | 3057987 bytes | - |
dc.format.extent | 1660834 bytes | - |
dc.format.extent | 7041726 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พยาบาลศาสตร์ -- หลักสูตร | en |
dc.subject | ความเครียด (จิตวิทยา) | en |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | en |
dc.title | รูปแบบการพัฒนานิสิตนักศึกษาพยาบาลเพื่อลดความเครียด | en |
dc.title.alternative | A nursing student development model in reducing stress | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | อุดมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | dwallapa@dpu.ac.th | - |
dc.email.advisor | Jintana.Y@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwanna_An_front.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_ch1.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_ch2.pdf | 5.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_ch3.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_ch4.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_ch5.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_An_back.pdf | 6.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.