Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12368
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โสตถิธร มัลลิกะมาส | - |
dc.contributor.advisor | ศักดา ธนิตกุล | - |
dc.contributor.author | ชัชวาลย์ โตเหมือน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-29T07:50:22Z | - |
dc.date.available | 2010-03-29T07:50:22Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.isbn | 9741438869 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12368 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 เป็นสถาบันกฎหมายที่ทำหน้าที่ควบคุมอำนาจของกลุ่มทุนมิให้ใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรม โดยมีเจตนารมณ์คือ "มุ่งส่งเสริมคุ้มครองการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดทางการค้า และจำกัดการแข่งขัน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการใช้ทรัพยากรแก่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมของประเทศไทย และนำมาซึ่งประโยชน์ต่อผู้บริโภค" โดยกฎหมายมีหลักการควบคุมพฤติกรรมการใช้อำนาจเหนือตลาดที่ไม่เป็นธรรม และหลักการควบคุมการผูกขาดในเชิงโครงสร้างตลาดไปพร้อมกัน กระบวนการบังคับใช้กฎหมายเป็นลักษณะของการใช้อำนาจรัฐ เพื่อเข้าไปควบคุมกลุ่มทุนผูกขาดมิให้ใช้อำนาจเหนือตลาดในทางมิชอบ แต่ในยุคสมัยแห่งทุนนิยมไทยหลังทศวรรษ 2540 อำนาจของกลุ่มทุนผูกขาดกลับมีอำนาจมีอิทธิพลเหนืออำนาจรัฐ กระบวนการบังคับใช้พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 จึงอาจถูกแทกแซงโดยอำนาจของกลุ่มทุนผูกขาดผ่านกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง โดยการแทรกแซงกระบวนการบังคับใช้กฎหมายมีความเป็นไปได้จาก รูปแบบขององค์กรผู้บังคับใช้กฎหมาย และที่มาของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ซึ่งส่วนหนึ่งกฎหมายบัญญัติให้ข้าราชการการเมือง สามารถเป็นประธานและคณะกรรมการการแข่งขันได้โดยตำแหน่ง และคณะกรรมการอีกส่วนหนึ่งมาจากการแต่งตั้งโดยตรงจากคณะรัฐมนตรี รวมทั้งข้อกำหนดกกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้ให้ชัดเจน แต่ให้อำนาจคณะกรรมการประกาศข้อกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ดังนั้นจึงควรปรับปรุงรูปแบบองค์กรผู้บังคับใช้กฎหมาย และกระบวนการบังคับใช้พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 ให้มีความเป็นอิสระเหมาะสมกับบริบททางการเมืองของประเทศไทย เพื่อลดโอกาสที่จะถูกแทรกแซงโดยกลุ่มทุนผูกขาดและอำนาจทางการเมืองให้น้อยที่สุด | en |
dc.description.abstractalternative | The 1999 Competition Act is the legal institution that aims to control the business groups from abusing their economic power and has the main objective to "promote and protect free and fair competition, prevents monopoly or any constraint on competition in order to create efficiency in the usage of resources in the capitalist economy of Thailand and bring about the benefits for the consumers". The main principles of the 1999 Competition Act are to control the behavior, which exercises the unfair power over the market, and prevent the structural monopolization of the market at the same time. The enforcement process of the 1999 Competition Act is a form of the execution of state power to constrain any business group with monopolistic power from power abuse or misuse. However, in the post-1997 period, the monopolistic power of certain business group exceeds the state power, and the enforcement process of the 1999 Competition Act is thus likely to face intervention from political interest group. The intervention of the enforcement process is possible through the form of the organization that enforces this law and the origin of the Competition Board in which political official is legally permitted to seek the position of the Chairman or Director of such Board while other Directors are appointed directly by the Cabinet, in addition to the regulations that the law has not clearly prescribed but allowed the Board to declare such regulations nevertheless according to the approval of the Cabinet. Therefore, the form of the organization, which enforces the law, and the enforcement process of the 1999 Competition Act should be improved to allow for autonomy appropriate to the political context of Thailand in order to minimize the likelihood of potential intervention by the business group with monopolistic power and political influence. | en |
dc.format.extent | 2045970 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 | en |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | en |
dc.subject | กฎหมายป้องกันการผูกขาด | en |
dc.subject | การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม | en |
dc.subject | การจำกัดขอบเขตการค้า | en |
dc.subject | การบังคับใช้กฎหมาย | en |
dc.title | เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการบังคับใช้พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 | en |
dc.title.alternative | The political economy of the enforcement of the 1999 Competition Act | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์การเมือง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sothitorn.M@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Sakda.T@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chatchawan_to.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.