Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12375
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระวัฒน์ อุทัยรัตน์ | - |
dc.contributor.author | สุวรรณา วังโสภณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-29T08:34:38Z | - |
dc.date.available | 2010-03-29T08:34:38Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743317309 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12375 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาอาจารย์ และปัญหาการพัฒนาอาจารย์ตามกระบวนการพัฒนาอาจารย์ ของคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ คณบดี จำนวน 11 คน หัวหน้าภาควิชา จำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ สำหรับคณบดี และแบบสอบถาม สำหรับหัวหน้าภาควิชา วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย มีการพัฒนาอาจารย์ ตามกระบวนการพัฒนาอาจารย์ทั้ง 4 ขั้นตอน คือ ในขั้นหาความจำเป็นเพื่อพัฒนาอาจารย์มีการกำหนดนโยบายการพัฒนาอาจารย์ กำหนดจุดมุ่งหมายในการหาความจำเป็น ในการพัฒนาอาจารย์ มีการศึกษาและรวบรวมข้อมูล มีการวิเคราะห์ข้อมูล และกำหนดความจำเป็นในการพัฒนา ในขั้นการวางแผนพัฒนาอาจารย์ มีการกำหนดวัตถุประสงค์ และจุดมุ่งหมาย กำหนดวิธีการพัฒนาอาจารย์ มีการวางแผนพัฒนาในระยะ 5 ปี จุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงานของอาจารย์ รู้จักใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ในขั้นปฏิบัติตามแผนพัฒนาอาจารย์ ใช้เทคนิควิธีการพัฒนาแบบกลุ่มและเป็นรายบุคคล ในขั้นประเมินผลการพัฒนาอาจารย์มีการประเมินผลการพัฒนาเพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนงาน หรือโครงการพัฒนาอาจารย์ ที่จะดำเนินการในครั้งต่อๆ ไป จากผลการสอบถามหัวหน้าภาควิชาเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาอาจารย์ ทั้ง 4 ด้าน ปรากฏว่า มีการปฏิบัติมากอยู่ 1 ด้าน คือ ด้านการหาความจำเป็นในการพัฒนาอาจารย์ อีก 3 ด้าน ที่เหลือมีการปฏิบัติน้อยทั้งหมด ปัญหาในการพัฒนาอาจารย์ ตามกระบวนการพัฒนาอาจารย์ ได้แก่ การขาดงบประมาณ อาจารย์ในแต่ละภาควิชาไม่ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงาน, ขาดผู้ชำนาญการในการแผนการพัฒนาอาจารย์ การติดตามประเมินผล ไม่สามารถบอกได้ว่า องค์การบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ และปัญหาที่เกิดขึ้นทุกขั้นตอน จากความคิดเห็นของหัวหน้าภาควิชาว่า มีอยู่ในระดับน้อยทุกด้าน | en |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were to investigate the process and problems of staff development in the Faculty of Education under the jurisdiction of Ministry of University Affairs. The population of this study consists of 11 deans and 76 Chairman of the departments. The structured interview data forms were used with the deans and the questionnaires were used with the chairman of the departments in Faculty of Education. The data were analyzed in terms of percentages, arithmetic means and standard deviations. The results from this study revealed that the Faculty of Education under the jurisdiction of Ministry of University Affairs developed staff in accordance with the four steps of staff development system as follows : Firstly Diagnosing Development Needs, the policy, objectives, and essentials of staff development were established by studying, collecting ana analyzing data. Secondly : Design of Development Plans, the goals and objectives, procedures and budget of staff development were assigned. Five years plan was established, and the purpose of staff development mostly concerning with transmission of knowledge, and the utilizing of the new technology Thirdly : Implementing Development Program, the technique employed in the development program were group and individual techniques Finally : Evaluation the Development Program, reporting results of evalution were used for improvement of the work and the new project, The results of the questionnaires responsed by the Chairman of the departments according to the 4 phases of staff development revealed that the diagnostic phase was perform at the high level, the others were at the low level. Problems in staff development were found as follows : in sufficiency of budget for operation, lacking of staff participation in planning process, deficiency of experts involving in planning, and in evaluation of staff development process couldn't demonstrated the achievement of the goals. The problems in all phases were at low level. | en |
dc.format.extent | 1220729 bytes | - |
dc.format.extent | 1437191 bytes | - |
dc.format.extent | 5514283 bytes | - |
dc.format.extent | 1329424 bytes | - |
dc.format.extent | 3057987 bytes | - |
dc.format.extent | 1660834 bytes | - |
dc.format.extent | 7041726 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การพัฒนาอาจารย์ | en |
dc.subject | อาจารย์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษากระบวนการพัฒนาอาจารย์ ของคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | A study of staff development process in faculties of education under the jurisdiction of Ministry of University Affairs | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | บริหารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwanna_Wa_front.pdf | 924.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_ch1.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_ch2.pdf | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_ch3.pdf | 426.35 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_ch4.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_ch5.pdf | 1.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suwanna_Wa_back.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.