Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12386
Title: | การลดปริมาณผลิตภัณฑ์บกพร่องในการผลิตชิ้นงานพลาสติก |
Other Titles: | A defects reduction in plastic part process |
Authors: | มานะพงศ์ โชติวิรัตน์ |
Advisors: | จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Jeirapat.N@Chula.ac.th |
Subjects: | การควบคุมความสูญเปล่า ผลิตภัณฑ์พลาสติก การฉีดขึ้นรูปพลาสติก |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ศึกษาการลดปริมาณของของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิตในงานฉีดงานพลาสติกแบบ Injection molding โดยใช้หลักการทางสถิติมาช่วยวิเคราะห์หาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และใช้หลักการทางทฤษฎีด้านพอลิเมอร์เข้ามาอธิบายถึงปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์เพื่อที่จะปรับปรุงสภาพปัญหาของโรงงาน ก่อนดำเนินการแก้ไขมีของเสียประเภทขนาดไม่ได้มาตรฐาน (มีขนาดโตกว่ากำหนด) ซึ่งส่งผลกระทบต่อโรงงานอย่างมากในด้านค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้น การวิจัยจึงเริ่มดำเนินการจากการศึกษากระบวนการผลิตและค้นหาปัจจัยที่มีผล กระทบต่อข้อบกพร่อง (FMEA) เพื่อนำปัจจัยที่มีลำดับความสำคัญมากที่สุดมาพิจารณา จากการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องของผลกระทบพบว่า ปัจจัยที่มีระดับความสำคัญมากอยู่ในส่วนของวิธีการ ได้แก่ อุณหภูมิ Mold, Cycle Time, Holding pressure จากนั้นออกแบบการทดลองโดยใช้แบบ 2K Factorial Design เพื่อที่ทำให้ทราบว่า ปัจจัย อุณหภูมิ Mold, Cycle time, Holding pressure มีผลหรือไม่อย่างไร โดยจากการวิเคราะห์ผลการทดลองผ่านโปรแกรม Minitab จะพบว่าปัจจัยทั้ง 3 มีผลต่อขนาดของชิ้นงาน ผลการทดลองสรุปได้ว่า ที่ Mold temp เท่ากับ 75 ํC, Cycle time เท่ากับ 22 วินาที และ Holding pressure เท่ากับ 10 MPa และสามารถลดของเสียได้จากปริมาณของเสียได้จากเดิม 11.39% เหลือเพียง 1.98% |
Other Abstract: | To reduce defective parts in Plastic Part Process. Statistical principles are applied to analyze causal factors that affect product's quality. In addition, Polymeric theories are also used to refer factors affecting product's quality and how to improve them. Before beginning the research, the problems about large, non-standard shape defects which affected production costs are the main problem for the factory. The research is started from studying the process. Then, Failure Mode and Effect Analysis(FMEA) to determine the most 3 critical factors for further analysis. They are Holding Pressure, Mold Temperature, and Cycle Time. Those factors are used in designing the experiment with 2k Factorial Design to test them if affecting the problem significantly. Finally, the factors considered by Minitab. The result from the research reveals that those factors affect to the problem by both main effect and interaction among the factors. After adjusting the factors, Mold temperature is 75 ํC, Cycle time is 22 second and holding pressure is 10 MPa. The amount of defects has reduced from 11.39%to 1.98%. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12386 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.828 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2007.828 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
manapong_ch.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.