Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1241
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมประสงค์ ศรีชัย | - |
dc.contributor.author | จินตวัฒน์ โฆษิตวัฒนาพานิชย์, 2522- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-31T03:08:00Z | - |
dc.date.available | 2006-07-31T03:08:00Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741720998 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1241 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | เปรียบเทียบประสิทธิภาพของหม้อน้ำรถยนต์ เมื่อมีการเพิ่มการไหลแบบปั่นป่วนด้วยพื้นผิวแบบขรุขระ ที่แตกต่างกันบนผนังด้านในของท่อ โดยพื้นผิวแบบขรุขระนี้ประกอบไปด้วยพื้นผิวแบบริบรูปตัววี พื้นผิวริบแบบขนาน พื้นผิวแบบริบรูปตัววีแยกกลาง และพื้นผิวแบบดิมเปิล การจัดเรียงตัวของพื้นผิวริบบนผนังท่อด้านตรงข้ามทั้งสองด้าน จะมีทั้งแบบตรงในแนวเดียวกันและแบบเยื้องกัน (สำหรับริบรูปตัววีการจัดเรียงจะเป็นแบบเยื้องกันเท่านั้น) พื้นผิวริบทั้งหมดจะเอียงทำมุม 45ํ กับทิศทางการไหลของน้ำ การศึกษานี้จะอยู่ในช่วงเลขเรย์โนลด์ของน้ำระหว่าง 2,500 ถึง 16,000 โดยค่าความเร็วของอากาศมีค่าคงที่ที่ 8 เมตรต่อวินาที จากการศึกษาพบว่าหม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบริบรูปตัววี จะให้ค่าการระบายความร้อนที่ดีที่สุด ตามมาด้วยหม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบดิมเปิล และหม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบผิวเรียบ จากการเปรียบเทียบพบว่า หม้อน้ำแบบผิวเรียบจะให้อัตราส่วนของการระบายความร้อน ที่เพิ่มขึ้นต่อหนึ่งหน่วยพลังงานที่สูญเสีย จากความเสียดทานที่มากที่สุด กล่าวคือในสภาวะที่ความดันลดถูกจำกัดที่อัตราการไหลหนึ่งๆ หม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบผิวเรียบ จะให้ประสิทธิภาพการระบายความร้อนที่ดีที่สุด แต่เมื่อเปรียบเทียบที่ค่ากำลังการส่งจ่ายของไหลที่เท่ากัน หม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบริบรูปตัววี จะให้การระบายความร้อนต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรของหม้อน้ำที่ดีที่สุด ดังนั้นจึงสามารถนำพื้นผิวแบบริบมาประยุกต์ใช้กับผิวของท่อ เพื่อลดปริมาตรและวัตถุดิบในการผลิตหม้อน้ำรถยนต์ ในการวิจัยยังพบว่าพื้นผิวแบบขรุขระที่มาจากการกดขึ้นรูปบนผิวท่อ จะทำให้การสัมผัสกันของครีบกับผิวท่อด้านนอกไม่สมบูรณ์ ทำให้การถ่ายเทความร้อนจากน้ำร้อนด้านในท่อ ออกสู่อากาศด้านนอกมีค่าลดลง ส่งผลให้การถ่ายเทความร้อนรวมของหม้อน้ำ ที่ใช้ผิวท่อแบบขรุขระบางใบมีค่าการระบายความร้อน ที่ต่ำกว่าหม้อน้ำที่ใช้ท่อแบบผิวเรียบ | en |
dc.description.abstractalternative | To compare performance between automotive radiators with different turbulent promoters in tubes. Turbulent promoters studied include V-shaped ribs, Parallel ribs, Broken V-shaped ribs and dimple impression made repeatedly on two opposite tube walls. The alignment of these ribs are in-line and staggered (V-shaped rib is only staggered alignment). Ribs angle-of-attack are 45ํ with respect to the water flow. The range of Reynolds number is varied from 2,500 to 16,000 and air is a constant 8 m/s.The results from the study reveal that radiator with V-shaped rib tubes yields the best heat dissipation followed by that of dimple tube and smooth tube respectively water pressure drop of composite-ribbed tube radiators is higher than that of dimple tube and smooth tube. A comparison shows that radiator with smooth tubes gives the highest ratio of thermal performance per unit of friction loss of water side. In other words, Radiator with smooth tube gives the best thermal performance when the flow rate is fixed. Radiator with V-shaped rib tube gives the highest ratio of thermal performance per unit core volume when fluid pumping power is constant. Lastly, the study founds that contact area between tubes and louvered fins for roughened surfaces is lower than that on smooth tube. As a result, lost contact area penalizes the benefit of enhanced heat dissipation created by turbulent flow. On some ribbed tube radiators, this yields lower overall heat dissipation than smooth tube radiator. | en |
dc.format.extent | 2128993 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รถยนต์ -- หม้อน้ำ | en |
dc.subject | ความร้อน -- การถ่ายเท | en |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของหม้อน้ำรถยนต์ เมื่อมีการเพิ่มการไหลแบบปั่นป่วน ภายในท่อด้วยพื้นผิวที่แตกต่างกัน | en |
dc.title.alternative | Performance comparison between automotive radiators with different turbulent promoter in tube | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somprasong.S@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JintawatKositwat.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.