Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุล-
dc.contributor.authorภูรวิศร์ ธรรมานุสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-03-31T01:57:52Z-
dc.date.available2010-03-31T01:57:52Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12425-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภค ในการใช้บริการธุรกิจออนไลน์บนมือถือของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ตลอดจนลำดับความสำคัญที่มีอิทธิพลในการกำหนดอุปสงค์ ในขั้นต้นจะเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนา เพื่ออธิบายถึงลักษณะของพัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ และภาพรวมของธุรกิจสื่อสารไร้สายในประเทศไทย จากนั้นเป็นการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ เพื่อดูปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภค ในการใช้บริการธุรกิจออนไลน์บนมือถือ โดยการวิเคราะห์แบบจำลองโลจิต การศึกษา การใช้บริการออนไลน์บนมือถือของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลในช่วงปี 2547-2549 พบว่า เพศชาย มีสัดส่วนการเคยใช้บริการออนไลน์บนมือถือมากกว่าเพศหญิง โดยผู้บริโภคที่อยู่ในช่วงอายุ 21-30 ปี จะมีสัดส่วนของผู้ที่ใช้บริการออนไลน์บนมือถือค่อนข้างสูง และพบว่าผู้ที่มีการศึกษาสูงก็จะยิ่งมีการใช้บริการออนไลน์บนมือถือในสัดส่วนที่มาก และพบว่า สาเหตุในการใช้บริการออนไลน์บนมือถือของผู้บริโภคที่พบส่วนใหญ่ มีสาเหตุมาจากค่านิยมและแฟชั่น และจากการศึกษา ถ้ารัฐนำการใช้บริการออนไลน์บนมือถือของผู้บริโภคมาเป็นส่วนลดภาษีของผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคจะหันมาใช้บริการออนไลน์บนมือถือมากขึ้น ในส่วนของการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติพบว่า เพศ รายได้ ผู้ที่ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว พนักงานเอกชน และ นักเรียน นิสิต นักศึกษา มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ต่อการใช้บริการออนไลน์บนมือถือของผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลen
dc.description.abstractalternativeTo analyze the factors determining consumer behavior in mobile phone in greater Bangkok area including an order of importance that cause influence for determining demand. This study is separated into two parts. The first part is the descriptive analysis for explanations for nature of development for mobile phone and wireless communication business in Thailand. While the second part is econometric analysis, which measures the factors determining consumer behavior in mobile phone value add service (VAS) by using logit model. The analysis finds that, during 2004-2006, men are using value add service more than women. The age between 21-30 years old trend to used VAS more than other generation. The study finds that who have higher education trend to using VAS frequently. Value judgment and fashion cause the most using VAS. The study finds if government using VAS for discounting consumer tax will increase VAS consumer. For econometrics finds sex, income, user occupation in field of business and student have influence statistic significantly in consumer behavior in mobile phone in greater Bangkok area.en
dc.format.extent6084863 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สายen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.titleปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บริการธุรกิจออนไลน์บนมือถือ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen
dc.title.alternativeFactors determining consumer behavior in mobile phone in greater Bangkok Areaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongsa.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Puravit.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.