Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12431
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพัตรา บุญมาก-
dc.contributor.authorอริสา เนาวไสศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2010-03-31T02:24:16Z-
dc.date.available2010-03-31T02:24:16Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12431-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการ บัญชีภายใต้ความต้อง การใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับความสามารถในการตอบสนองของระบบสารสนเทศทาง การบัญชี ความสัมพันธ์ระหว่างความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีขององค์กร กับการใช้ประโยชน์ จากระบบสารสนเทศทางการบัญชี และกับผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน กรุงเทพมหานคร จากกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในกิจการผลิตสินค้า ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 52 ราย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่มีความเหมาะสมภายใต้ ความต้องการใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับความสามารถในการตอบสนองของระบบ สารสนเทศทางการบัญชี คือ ด้านความถี่ในการรายงานผล ด้านความยืดหยุ่นในการใช้งานคือมีรูปแบบที่เรียบง่ายไม่ ซับซ้อน สามารถใช้งานได้คล่องตัวและสะดวก ด้านความสามารถในการพยากรณ์ และด้านการรับข้อมูล โดยอัตโนมัติ ความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีด้านความสามารถในการพยากรณ์มี ความสัมพันธ์ทางบวกกับการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้านการ จัดการข้อมูลทาง การบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้าน การรับข้อมูลโดยอัตโนมัติมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเพิ่มขึ้นของกำไร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้านความยืดหยุ่นในการใช้งานมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับผลิตภาพของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความเหมาะสมของ ระบบสารสนเทศทางการบัญชีด้านความสามารถในการพยากรณ์ สามารถพยากรณ์การใช้ประโยชน์จาก ระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้านการจัดการข้อมูลทางการบัญชี (Accounting data management) ความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้านความถี่ในการรายงานผล ด้านความสามารถใน การพยากรณ์ และด้านการเสนอแนวทางการตัดสินใจ สามารถพยากรณ์การใช้ประโยชน์จากระบบ สารสนเทศทางการบัญชีในด้านความพึงพอใจของผู้ใช้งาน (Users' Satisfaction) และความเหมาะสม ของระบบสารสนเทศทางการบัญชีในด้านการรับข้อมูลอัตโนมัติสามารถพยากรณ์ผลการ ดำเนินงานของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในด้านการเพิ่มขึ้นของกำไร (Profitability growth) และด้านผลิตภาพ ของพนักงาน (Productivity) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study the alignment of the Accounting Information Systems within the association between the requirement of the Accounting Information Systems and the response capability of the Accounting Information Systems, the association between the AIS Alignment of the organization to the utilization of the Accounting Information Systems and to the performance of SMEs in Bangkok Metropolis and the Greater Bangkok Area from a group of 52 SMEs manufacturers, respectively. The research result can be concluded that the alignment of the Accounting Information Systems within the association between the requirement and the response capability of the Accounting Information Systems is in terms of the frequency of reporting, usage flexibility which described simple and uncomplicated format, future events forecasting capacity, and automatic receipt of information. The alignment of the Accounting Information Systems in term of the future events forecasting capacity has a positive relationship with the utilization of the Accounting Information Systems at a statistical significance of 0.05. The AIS Alignment in term of the automatic receipt of information has a positive relationship with the profitability growth at a statistical significance of 0.05 and the AIS Alignment in term of usage flexibility has a positive relationship with productivity at a statistical significance of 0.05. The AIS Alignment in term of future events forecasting capability is able to forecast the accounting data management of the utilization of Accounting Information Systems. The AIS Alignment in terms of frequency of reporting, future events forecasting capability, and decisional model offering can forecast the users' satisfaction of the utilization of the Accounting Information Systems. The AIS Alignment in term of the automatic receipt of information is able to forecast the profitability growth and productivity of the performance of Small and Medium Enterprises at a statistical significance of 0.05.en
dc.format.extent1381675 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- การบัญชีen
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อม -- การจัดการen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเหมาะสมของระบบสารสนเทศทางการบัญชี กับผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe association between accounting information systems (AIS) alignment and performance of small and medium enterprises (SMSs) in Bangkok metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบัญชีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupattra.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arisa_na.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.