Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12547
Title: | การรับรู้เกี่ยวกับตนเองและโลกทัศน์ของผู้ต้องขัง : ศึกษากรณีเรือนจำแห่งหนึ่ง |
Other Titles: | Self-percaption and world view : a case study of prisoners in a Thai prison |
Authors: | เดชา กัลยาวุฒิพงศ์ |
Advisors: | ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Preecha.K@Chula.ac.th |
Subjects: | นักโทษ การรับรู้ตนเอง ปฎิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ |
Issue Date: | 2540 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และโลกทัศน์ของผู้ต้องขัง โดยได้ทำการศึกษา ณ เรือนจำแห่งหนึ่ง เก็บรวบรวมข้อมูลจากประวัติชีวิตของผู้ต้องขัง เอกสาร การสังเกต และการสัมภาษณ์ผู้ต้องขัง ซึ่งผลการศึกษาสามารถแบ่งช่วงของการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของผู้ต้องขังได้เป็น 3 ช่วงดังนี้ 1. ช่วงก่อนเข้าสู่เรือนจำ ผู้ต้องขังจะรับรู้และเรียนรู้จากการปฏิสังสรรค์กับผู้ที่เคยมีประสบการณ์ เคยผ่านการใช้ชีวิตในเรือนจำแห่งนี้มาก่อน ซึ่งจะช่วยให้เขาเกิดการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง เรียนรู้การปฏิบัติตัวเบื้องต้นและเกิดโลกทัศน์ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ช่วงขณะอยู่ภายในเรือนจำ เมื่อผู้ต้องขังเข้ามาในชีวิตภายในเรือนจำ การปฏิสังสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้องภายใต้บริบทวัฒนธรรมย่อย ทำให้พวกเขาได้เรียนรู้และปรับตัว โดยผ่าน 2.1 การสังเกต 2.2 การบอกเล่า และ 2.3 ประสบการณ์ตรง 3. ช่วงหลังการพ้นโทษ เป็นการรับรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากสังคมเรือนจำกลับสู่สังคมปกติภายนอก โดยการปฏิสังสรรค์กับบุคคลภายใต้วัฒนธรรมอีกรูปแบบหนึ่งในสังคมปกติ |
Other Abstract: | This thesis is to study self-perception and world view of prisoners in a prison. The study concentrates on ; prisoners' bibliographies which is derived from observing and interviewing. The result can be devided into three periods of prisoner's self-perception : 1. Before getting in the prison: Prisoners learn and perceive their 'self' from an interaction with former prisoners. This learning helps them to acknowledge their self-perception, their behavior, and their ideas of involved people. 2. During in the prison: In this period, prisoners learn and live in a sub-culture through: 2.1 Observing 2.2 Taking and 2.3 Interaction 3. After Punishment: Prisoners learn and change their behavior and perception from an interaction with other people in the culture of normal society. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 |
Degree Name: | มานุษยวิทยามหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | มานุษยวิทยา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12547 |
ISBN: | 9746386085 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Decha_Ka_front.pdf | 359.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Decha_Ka_ch1.pdf | 990.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Decha_Ka_ch2.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Decha_Ka_ch3.pdf | 4.85 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Decha_Ka_ch4.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Decha_Ka_back.pdf | 250.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.