Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพิณ มโนมัยวิบูลย์-
dc.contributor.authorเดือนพร เครือพันธุ์ทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-04-22T08:25:17Z-
dc.date.available2010-04-22T08:25:17Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743340793-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12572-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและข้อจำกัดของคำกริยาประสมแบบกริยา-นาม รวมถึงการวิเคราะห์ลักษณ์ของหน่วยคำภายใน การเติมกรรม ประเภทของกรรม และลักษณะการขยายคำในคำกริยาประสมเหล่านี้ ผลการวิจัยสรุปได้ว่าคำกริยาประสมแบบกริยา-นามแต่ละคำจะต้องมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ หน่วยคำกริยา และหน่วยกรรม โดยส่วนประกอบแต่ละส่วนอาจเป็นหน่วยคำอิสระหรือเป็นหน่วยคำไม่อิสระก็ได้ ในการศึกษาครั้งนี้จะเน้นเฉพาะหน่วยกรรมที่เป็นคำนามเท่านั้น เนื่องจากมีปริมาณมากกว่าหน่วยกรรมชนิดอื่น คำกริยาประสมแบบกริยา-นามมีข้อจำกัดที่แตกต่างจากคำกริยาทั่วไป คือ ส่วนใหญ่จะไม่มีกรรมตามหลัง เนื่องจากหน่วยกรรมภายในของคำกริยาประสมมีความหมายเกี่ยวกับบุคคลหรือสิ่งของที่รับหรือเกี่ยวข้องกับการกระทำนั้นอยู่แล้ว แต่เนื่องจากภาษาจีนกลางมีวิวัฒนาการมาตลอด จึงทำให้คำกริยาประสมบางคำในปัจจุบันนี้สามารถเติมกรรมตามหลังได้ และในเรื่องลักษณะการขยายคำของคำกริยาเหล่านี้พบว่า หน่วยเสริมแทรกที่นำมาแทรกมีอยู่หลายประเภท และหน่วยเสริมแทรกแต่ละประเภทมีความหมายและความสัมพันธ์กับหน่วยคำภายในคำกริยาประสมแตกต่างกันไป งานวิจัยแบ่งออกเป็น 6 บท คือ บทที่ 1 เป็นบทนำ กล่าวถึงความมุ่งหมายและขอบเขตของการวิจัย บทที่ 2 ว่าด้วยลักษณะทั่วไป การแบ่งประเภทของคำ การแบ่งหมวดย่อยของคำจากโครงสร้างภายใน รวมถึงสถิติของปริมาณคำกริยาประสมแบบกริยา-กรรม บทที่ 3 และ 4 เป็นการศึกษาและวิเคราะห์การเติมกรรม หน่วยเสริมแทรกกลางคำ และรูปแบบการขยายคำของคำกริยาประสมแบบกริยา-นาม โดยจำแนกตามลักษณะส่วนประกอบหน้าที่ และความหมายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประโยคประกอบ บทที่ 5 เป็นการศึกษาเปรียบเทียบคำกริยาประสมแบบกริยา-นามในภาษาจีนและภาษาไทย บทสุดท้ายเป็นการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับเนื้อหาหลักของคำกริยาประสมแบบกริยา-กรรม การเติมกรรม การขยายคำและการเปรียบเทียบคำกริยาประสมเหล่านี้ในภาษาจีนและภาษาไทย รวมถึงเสนอประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับกลุ่มคำกริยาประสมแบบกริยา-นามที่สามารถเติมกรรมได้ในระยะเวลาต่อมา การศึกษาวิวัฒนาการของคำกริยาประสมแบบกริยา-นามจากสื่อสิ่งพิมพ์ และการเปรียบเทียบลักษณะร่วมด้านความหมายที่เกิดขึ้นของคำกริยาประสมแบบกริยา-นามในภาษาจีนและภาษาไทย ทั้งนี้เพื่อผู้สนใจจะได้ศึกษาและค้นคว้าต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study the unique characteristics and criteria of verb-noun compound verbs and to analyse their internal structures regarding object adding, genres of objects and extension patterns of these compound verbs. The research reveals that a V-O compound verb is composed of two constituents : the V member and the O member. Each constituent may be a free or bound morpheme. I will concentrate on the V-N forms because they are in greater number than the V-V and V-adj forms. The restriction of the V-N compound verbs is that most of them cannot be followed by an object since the second element refers regularly to an object resulting from the action of the V element of the V-O form. However, Mandarin Chinese has continuously developed along its own lines and some V-N compound verbs have to be made to meet different requirements of object adding. In addition, the various groups of infixes in extension patterns can indicate their meanings and their interplay with the internal components in different features. The findings are described in six chapters. Chapter 1 details the purpose of this study. Chapter 2 presents the characteristics, chassification, structure of internal constituents and statistics on the V-O compound verbs. Chapters 3 and 4 analyse the criteria of object adding, infixes and extension patterns of the V-N compound verbs which depend on their compositions, functions and meanings. Specific examples will be addressed in these chapters. Chapter 5 is an analytical study of the V-N verbs in Mandarin Chinese and Thai. In the final chapter a summary of the findings is given along with several interesting points, as for example the evolution of the V-N compound verbs in newspapers and the similarities of meaning in Mandarin Chinese and Thai, which are not studied in the thesis but which are suggested for further research.en
dc.format.extent512780 bytes-
dc.format.extent305468 bytes-
dc.format.extent1246426 bytes-
dc.format.extent1201692 bytes-
dc.format.extent1185878 bytes-
dc.format.extent625651 bytes-
dc.format.extent460443 bytes-
dc.format.extent2003593 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.245-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาจีน -- การใช้ภาษาen
dc.subjectภาษาจีน -- คำนามen
dc.subjectคำประสมen
dc.titleการศึกษาเชิงวิเคราะห์คำประสมแบบกริยา-นามในภาษาจีนกลางen
dc.title.alternativeAnalytical study of verb-noun compound words in Mandarin Chineseen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาจีนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorprapin.m@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.245-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Deunporn_Kr_front.pdf500.76 kBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch1.pdf298.31 kBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch2.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch3.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch4.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch5.pdf610.99 kBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_ch6.pdf449.65 kBAdobe PDFView/Open
Deunporn_Kr_back.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.