Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุรา ปานเจริญ-
dc.contributor.advisorปิยะฉัตร โลเจริญกุล-
dc.contributor.authorสุรชัย รักสมบัติ, 2513--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-31T08:36:31Z-
dc.date.available2006-07-31T08:36:31Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741797818-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1271-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractในการแยกโลหะเงินให้บริสุทธิ์มีหลายกระบวนการ แต่ที่นิยมใช้คือกระบวนการอิเล็คโตรไลซีส ซึ่งมีความจำเป็นต้องใช้สารละลายอิเล็คโตรไลต์ที่มีอิออนของโลหะเงิน และในการแยกเงินให้ได้ความบริสุทธิ์ที่ต้องการนั้น มีตัวแปรที่ควบคุมในการทำงาน เช่น อุณหภูมิ ความเข้มข้นของเงินในสารละลายอิเล็คโตรไลต์ ความเข้มข้นของทองแดงในสารสารละลายอิเล็คโตรไลต์ เป็นต้น เมื่อใช้งานสารสารละลายอิเล็คโตรไลต์ อิออนของโลหะอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นอิออนของทองแดง จะละลายอยู่ในสารละลายอิเล็คโตรไลต์และจะสะสมความเข้มข้นของทองแดงสูงขึ้น ซึ่งความเข้มข้นของทองแดงที่สูงขึ้นเรื่อยๆ จะมีผลกระทบต่อความบริสุทธิ์ของเงินที่แยกได้ ทำให้ไม่สามารถใช้สารละลายอิเล็คโตรไลต์ต่อไปได้อีก แต่ในสารละลายอิเล็คโตรไลต์ที่ใช้ไม่ได้นั้น ยังมีอิออนของโลหะเงินเหลืออยู่ จึงต้องหากระบวนการที่จะแยกเอาโลหะเงินในสารละลายคืน ซึ่งในงานวิจัยนี้จะใช้กระบวนการซึ่งอาศัยหลักการทางไฟฟ้าเคมีที่เรียกว่า อิเล็คโตรไลซีสแบบต่อเนื่อง ในการแยกอิออนของโลหะเงินจากสารละลาย ผลจากงานวิจัยพบว่า สามารถแยกโลหะเงินจากสารละลายออกมาได้ โดยมีเงื่อนไขที่สามารถแยกอิออนของโลหะเงินให้มีประสิทธิภาพสูงสุดคือ ใช้ขั้วบวกที่สามารถละลายทดแทนอิออนของโลหะเงินได้ที่เลือกใช้คือทองแดง ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าในช่วง 6.45-7.75 แอมแปร์ต่อตร. เดซิเมตร อุณหภูมิของน้ำรอบถังสารละลายอิเล็คโตรไลต์เท่ากับ 70 ํC อัตราการไหลของสารละลายเท่ากับ 0.2 ลิตรต่อนาที จำนวนถังปฏิกรณ์เท่ากับ 10 ถังen
dc.description.abstractalternativeThere are many types of silver refining process. Among them electrolyte process is favorable. In this process silver electrolyte ion is used. Separate silver refining process has some variable to be control. For example temperature, intense of silver in electrolyte, content of copper and impurity in electrolyte. When electrolyte is used for sometime in refining process it becomes impure with other unwanted metal or impurity such as copper and other metal. The content of copper will be higher with increasing or continuous using of electrolyte in refining process and at a point when the content of copper is beyond the allowed limit, the electrolyte could no longer be used. Silver has to be recovered from used electrolyte. This process is called silver recovery process. In the thesis of silver recovery process, we use continuous electrolysis process, which separates ion of metal from solution. From the result of research we found that the best condition for efficient silver recovering are as follows: Anode:copper ; Electric current density : 6.45 - 7.75 Amp/sq.dm ; Temperature of water jacket : 70 ํC ; Flow rate of Solution : 0.2 liter/minute ; Number of tank : 10.en
dc.format.extent1183329 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเงินen
dc.subjectการนำกลับมาใช้ใหม่en
dc.subjectการแยกสลายด้วยไฟฟ้าen
dc.titleการแยกเงินจากสารละลายที่เหลือจากการแยกเงินด้วยอิเล็คโตรไลซีส โดยใช้อิเล็คโตรไลซีสแบบต่อเนื่องen
dc.title.alternativeRecovery of silver from fouled solution by continuous electrolysisen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorura.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surachai_Rak.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.